19 มิ.ย. 2019 เวลา 20:06 • สุขภาพ
WHO AWARE 2019
WHO ออกแคมเปญ​ AWARE​ รณรงค์งดใช้ยาฆ่าเชื้อพร่ำเพรื่อ
‘AWaRe’, classifies antibiotics into three groups:
Access — antibiotics used to treat the most common and serious infections
Watch — antibiotics available at all times in the healthcare system
Reserve — antibiotics to be used sparingly or preserved and used only as a last resort
🚨🚨🚥
📺📷📹
เชื้อรา​ C. auris ดื้อยา​ มีประเทศไทยติดโผกับเขาด้วย​ เหตุที่น่าเป็นห่วงเพราะ
รักษายาก
ยาราคาแพง
สาเหตุหลักที่ทำให้เชื้อรา​ C.auris ดื้อยา​ ส่วนหนึ่งเกิดจากการใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างพร่ำเพรื่อ
the risk is higher if you are in a hospital for a long time or if you are in a nursing home, and patients who are in intensive care are much more likely to get a C. auris infection.
The risk of picking up an infection is also higher if you have been on antibiotics a lot, because the drugs also destroy good bacteria that can stop C. auris getting in.
Candida auris: The new superbug on the block - BBC News https://www.bbc.com/news/health-49170866
🌐แนวทางใหม่ในการรักษา​#เชื้อดื้อยา จะเป็นการรักษาแบบ​#เฉพาะเจาะจง โดยให้ไวรัสโจมตีแบคทีเรีย และยังช่วยสร้างเนื้อเยื่้อได้อีกด้วย (ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียไม่มีคุณสมบัตินี้) ซึ่งในอนาคตอาจจะทำเป็นแผ่นแปะแผลฆ่าเชื้อ (wound dressing หรือ bandages) แทนที่การกินยาหรือฉีดยาในปัจจุบัน
.
🌐Researchers are looking at something called phages, a kind of virus that scientists say act as a ‘natural predator’ to bacteria, to see if they can help battle the #superbugs that are increasingly resistant to antibiotics.
.
🌐https://www.youtube.com/watch?v=uoaanINMq3Q
ลำดับการใช้ยาเมื่อเกิดเชื้อดื้อยาจากตัวอย่างของประเทศอังกฤษ
ก่อนปี​ 2005 ใครที่เป็นโรคหนองใน​ที่อังกฤษ​ จะสามารถใช้ยาฆ่าเชื้อซิโปรฟล็อกซาซิน​รักษาได้​ หลังจากนั้นเชื้อดื้อยาตัวนี้แพร่หลายขึ้นก็ต้องเปลี่ยนไปใช้ยาที่แพงขึ้นคือ​ เซฟิ​ซิม ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มเซฟาโลสปอริน​ ที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย​ รวมทั้งหนองใน
เวลาผ่านไป​ การใช้ยาเซฟิซิมเริ่มไม่ได้ผล​ จึงต้องเปลียนเป็นยาสูตรผสมคืออะซิโทรมัยซินและเซฟไตรอะโซน​ จนกระทั่งเกิดข่าวใหญ่ทั่วโลกในปี 2018​ ที่หนุ่มอังกฤษไปมีอะไรกับสาวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้​ ซึ่งก็พอเดาได้ว่าจากประเทศไหนที่ขึ้นชื่อเรื่องเหล่านี้​ และก็พาโรคซูเปอร์​โกโนเรียที่ดื้อต่อยากลับบ้าน​ จนเกิด​ Guidelines.ของการรักษาโรคหนองในในปัจจุบัน​ที่กินยาร่วมกับฉีดยา1เข็มที่ก้น
มาในปีนี้เชื้อหนองในได้พัฒนาจนดื้อต่อยาดังกล่าว และต้องเปลี่ยนมาใช้ยาใหม่ที่มีราคาแพงขึ้น​ นั่นก็คือใช้ยาฉีด​ ertapenem ซึ่งมีราคาเข็มละ2พันถึง7พันแล้วแต่ว่าจะไปฉีดที่ไหน
จากตัวอย่างของพัฒนาการของเชื้อดื้อยาในประเทศ​อุงกฤษ ที่ส่วนหนึ่งมีต้นกำเนิดมาจากการใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างมั่วซั่วจากประเทศในแถบ​เอเชีย​ตะวันออก​เฉียง​ใต้​ ซึ่งก็ไม่อาจจะทราบได้ว่า​ เชื้อจะพัฒนา​ให้ดื้อต่อยาได้มากขนาดไหน​ จะหายาในอนาคตมารักษา​ได้หรือไม่​ การใช้ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียจึงจำเป็นต้องใช้อย่างสมเหตุผล​ นั่นก็คือ
ใช้ยาปฏิชีวนะในกรณีจำเป็นเท่านั้น เช่น การป่วยด้วยโรคหวัด ไม่จำเป็นต้องใช้ยา
ปฏิชีวนะ เนื่องจากเชื้อหวัดเป็นไวรัสไม่ใช่แบคทีเรีย ดังนั้นการกินยาปฏิชีวนะจึงไม่มีผล ปัจจุบันกลุ่มโรค 3 กลุ่มที่ไม่จำเป็นและไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ แต่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะสูงมากได้แก่ 1. ไข้หวัด เจ็บคอ 2.ท้องเสีย 3. แผลเลือดออก​
กินยาปฏิชีวนะให้ครบขนาดตามที่กำหนด หากหยุดกินเองเชื้อแบคทีเรียจะปรับตัวให้คงทนต่อยามากขึ้นและกลายเป็นเชื้อดื้อยาในที่สุด
ควรใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ยาแรงหรือกว้างเกินไป เพื่อมุ่งให้หายจากอาการป่วยโดยเร็ว ซึ่งหากใช้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์แรงในการรักษาเริ่มแรกทันที เมื่อเกิดการดื้อยาขึ้นจะทำให้ไม่มียาขนานต่อไปเพื่อใช้ในการรักษา​
.
.
Britain has now recorded four ceftriaxone-resistant gonorrhoea infections in three months, after a man from London in his 20s was diagnosed with a ceftriaxone-resistant infection in November.
Cases of the mutant strain resistant to ceftriaxone have been rising in the Asia-Pacific region.
The UKHSA raised the alarm in 2018 after a British man was found to have a gonorrhoea infection resistant to both ceftriaxone and azithromycin.
They said the man was having regular sex with a woman in the UK, but became infected with the strain after a one-off encounter with a woman in South East Asia.
The patient was treated with a third antibiotic — ertapenem — before the case was cleared.
190820
UPDATED 2022.02.08
โฆษณา