1 ธ.ค. 2018 เวลา 07:46 • ปรัชญา
วันนี้มาดู อะไรน่าสนใจแปลกใหม่ ดีกว่า^^ กิกิ ขอเสนอ คำเชื่อมที่น่าสนใจนะคะ
1. Although ..... but.... (ถึงแม้ว่า... แต่ก็.... )
Although you are smart but you still need to prepare well for the final test.
2. Either ..or... (ให้เลือก อันใดอันนึง)
I want to practice my third language, I’m still thinking what language I should learn, Either Spanish or Chinese are both important.
 
3. Whether .. or not.. (... รึเปล่า) = แต่ไม่ได้ถาม นะ >> คือเอาไว้ บอกเล่า แต่พูดเหมือนปย คำถามอะ ที่จริง ไม่ได้ถาม
เช่น คิดในใจว่า “วันนี้เราว่างตอนสี่โมงเย็นแต่ไม่รู้ว่าเธอจะโทรมารึเปล่า” (อารมณ์แบบบ่น ลงท้ายว่า รึเปล่า แต่เราไม่ได้ถามใคร)
ภาษาอังกฤษ จะใช้ตัวนี้นะคะ
“Today I will be free after 4 oclock but Im not sure whether you call me or not”
**จะสังเกตว่า ถ้าอิ๋งจะเขียนว่า
“Today i will be free after 4 oclock but im not sure if you call me or not”
- ก็ใช้ได้ ; ดังนั้น if ... or not // กับ whether ... or not จะใช้แทนกันได้นะคะ เหมือนกันเป๊ะเลยยยยย ต่างกันแค่ ตัวแรกที่เค้าให้จะเป็นภาษาเขียน(ทางการ; ในอีเมล) ส่วน if ... or not เป็นภาษาพูดนะคะ
4. เวลาฉันพูดว่า
“ฉันไม่ชอบกินถั่วงอก”
I dont like bean sprouts
อีกคนจะบอกว่า
“เหมือนกันเลย” (คือหมายถึง ไม่ชอบกินเหมือนกันเลย
ใช้ “me either” / me too(ก็ได้) แต่คนเมกัน หรือยุโรป เอาจริงๆไม่ค่อยมีใครพูด me too เลยยยยย ในกรณีนี้นะคะ******
สรุป ก็คือ ถ้าได้ยินใครพูดเป็นประโยคปฏิเสธก่อนหน้า แล้วเราก็ เหมือนกัน ควรใช้ me either.
ถ้า
Do you want to cream in Coffee ?
No cream for me, Thanks
จะไม่เอา ครีมในกาแฟเหมือนกัน ก็จะต้องบอกว่า
Me neither (ก้ไม่เอา)
คือ ทำไมใช้ neither คือ แค่ประโยคปฏิเสธก่อนหน้า มันไม่มีคำว่า not (😁😁😁แค่นั้น)
ย้ำอีกที!! ถ้าประโยคปฏิเสธที่เราได้ยินก่อนหน้า มันมี คำว่า not >>เวลาเราจะตอบ ว่าเราก็ไม่... เหมือนกัน คือต้องใช้ me either
ถ้าปฏิเสธ แบบไม่มี not (แต่เป็น noแทน) ก็ใช้คำว่า me neither จ้าาาาาาาาา
คำว่า me too ก็แบบใช้ตอนที่เราเห็นด้วย ตอนที่มันเป็นประโยคธรรมดา ที่ไม่ใช่ประโยคปฏิเสธนะคะ
โฆษณา