มะม่วงหิมพานต์ อย่างที่เราเคยรู้ๆกันว่า ถ้าพูดถึงเม็ดมะม่วงหิมพานต์เเล้วทุกคนจะต้องคิดว่ามาจากทางภาคใต้ของเรา มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชเศรษฐกิจที่นิยมปลูกกันมากที่ภาคใต้ เเละมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกไปตามภูมิภาคต่างๆของประเทศไทยเรื่อยๆมา ไม่ว่าจะเป็นภาคตะวันออก( ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) ที่นิยมปลูกกัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ ยโสธร) เเละภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งเป็นเเหล่งเพาะปลูกใหม่(อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร) เเต่ว่าในด้านการปรับปรุงพันธุ์มะม่วงหิมพานต์ของกรมวิชาการเกษตรได้หยุดชะงักลงเป็นระยะเวลากว่า20ปี ทำให้มะม่วงหิมพานต์ที่ปลูกในประเทศไทย ไม่ได้รับการพัฒนาด้านสายพันธุ์เท่าที่ควร หลังจากปี2530ที่ได้รับรองสายพันธุ์ มะม่วงหิมพานต์ศรีสะเกษ60-1 เเละ60-2 ที่ได้รับความนิยมจากเกษตรกร ในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นอย่างมาก ก็ยังไม่มีการพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ขึ้นมาทดเเทนเลย อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันนี้พื้นที่เพาะปลูกมะม่วงหิมพานต์ ได้มีเเนวโน้มลดลงเป็นอย่างมาก สาเหตุมาจาก มีพืชเศรษฐกิจอย่างอืนที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า ไม่ว่าจะเป็น อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด และยางพารา ทำให้เกษตรกรบางส่วนได้รื้อสวนมะม่วงหิมพานต์ หันไปปลูกพืชเศรษฐกิจดั้งที่กล่าวมา เเต่สาเหตุจริงๆก็คือมะม่วงหิมพานต์ที่เกษตรกรนำไปปลูกมีหลายหลายสายพันธุ์ ซึ่งพันธุ์ส่วนใหญ่ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพพื้นที่และสภาพภูมิอากาศในเเต่ล่ะจังหวัดได้ ส่งผลให้การออกดอกติดผลไม่ค่อยจะดีเท่าที่ควร ส่งผลให้ผลผลิตไม่ค้มกับต้นทุน เเต่ ณ ปัจจุบัน มะม่วงหิมพานต์กลับมาได้รับความนิยมอย่างมากมายอีกครั้ง เนื่องจากความต้องการในตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้นสูง อีกทั้งประเทศเพื่อนบ้านของไทยอย่าง กัมพูชา เเละ ลาว ได้เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดนี้เป็นจำนวนมาก เพื่อที่ต้องการป้อนตลาดอย่างเวียดนามนาม ที่ปัจจุบันต้องการเป็นจำนวนมาก เพื่อตอบสนองต่อลูกค้าในตลาดยุโรปเเละอเมริกา ทำให้เวียดนามต้องเร่งหาวัตถุดิบ ที่อยู่ใกล้ประเทศเค้าเอง เพื่อที่จะลดต้นทุนในด้านการขนส่งด้วย จึงทำให้ราคาเม็ดมะม่วงหิมพานต์ของไทยในระยะ2-3ปี ที่ผ่านมาได้ปรับราคาสูงขึ้นเป็นอย่างมาก นับว่าเป็นผลดีกับเกษตรกรที่ปลูกมะม่วงหิมพานต์เป็นอย่างยิ่ง ที่สามารถขายผลผลิตในราคาที่เพียงพอใจ จากราคาที่เคยขายได้เเค่กิโลล่ะ30-35บาท โดด เป็นราคา40ถึง60บาทต่อกิโลกรัม นี้ยังไม่นับผลผลิตที่แปรรูปเเล้วที่ขายได้ราคากิโลกรัมล่ะ350-550บาท(เเบ่งตามขนาดเเละเกรดของเม็ด) อีกทั้งผู้ประกอบการในประเทศที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการแปรรูปเม็ดมะม่วงหิมพานต์เอง ต้องกักตุนวัตถุดิบเพื่อใช้ในการแปรรูปเพื่อจำหน่าย ทำให้มีการแข่งขันด้านราคาที่เพิ่มมากขึ้น ที่นี้ขึ้นอยู่กับตัวเกษตรกรเองเเล้วว่าจะ ขายผลผลิตให้กับตัวเเทนจากไหนที่ให้ราคาได้น่าพอใจกว่ากันมะม่วงหิมพานต์ อย่างที่เราเคยรู้ๆกันว่า ถ้าพูดถึงเม็ดมะม่วงหิมพานต์เเล้วทุกคนจะต้องคิดว่ามาจากทางภาคใต้ของเรา มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชเศรษฐกิจที่นิยมปลูกกันมากที่ภาคใต้ เเละมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกไปตามภูมิภาคต่างๆของประเทศไทยเรื่อยๆมา ไม่ว่าจะเป็นภาคตะวันออก( ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) ที่นิยมปลูกกัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ ยโสธร) เเละภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งเป็นเเหล่งเพาะปลูกใหม่(อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร) เเต่ว่าในด้านการปรับปรุงพันธุ์มะม่วงหิมพานต์ของกรมวิชาการเกษตรได้หยุดชะงักลงเป็นระยะเวลากว่า20ปี ทำให้มะม่วงหิมพานต์ที่ปลูกในประเทศไทย ไม่ได้รับการพัฒนาด้านสายพันธุ์เท่าที่ควร หลังจากปี2530ที่ได้รับรองสายพันธุ์ มะม่วงหิมพานต์ศรีสะเกษ60-1 เเละ60-2 ที่ได้รับความนิยมจากเกษตรกร ในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นอย่างมาก ก็ยังไม่มีการพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ขึ้นมาทดเเทนเลย อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันนี้พื้นที่เพาะปลูกมะม่วงหิมพานต์ ได้มีเเนวโน้มลดลงเป็นอย่างมาก สาเหตุมาจาก มีพืชเศรษฐกิจอย่างอืนที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า ไม่ว่าจะเป็น อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด และยางพารา ทำให้เกษตรกรบางส่วนได้รื้อสวนมะม่วงหิมพานต์ หันไปปลูกพืชเศรษฐกิจดั้งที่กล่าวมา เเต่สาเหตุจริงๆก็คือมะม่วงหิมพานต์ที่เกษตรกรนำไปปลูกมีหลายหลายสายพันธุ์ ซึ่งพันธุ์ส่วนใหญ่ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพพื้นที่และสภาพภูมิอากาศในเเต่ล่ะจังหวัดได้ ส่งผลให้การออกดอกติดผลไม่ค่อยจะดีเท่าที่ควร ส่งผลให้ผลผลิตไม่ค้มกับต้นทุน เเต่ ณ ปัจจุบัน มะม่วงหิมพานต์กลับมาได้รับความนิยมอย่างมากมายอีกครั้ง เนื่องจากความต้องการในตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้นสูง อีกทั้งประเทศเพื่อนบ้านของไทยอย่าง กัมพูชา เเละ ลาว ได้เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดนี้เป็นจำนวนมาก เพื่อที่ต้องการป้อนตลาดอย่างเวียดนามนาม ที่ปัจจุบันต้องการเป็นจำนวนมาก เพื่อตอบสนองต่อลูกค้าในตลาดยุโรปเเละอเมริกา ทำให้เวียดนามต้องเร่งหาวัตถุดิบ ที่อยู่ใกล้ประเทศเค้าเอง เพื่อที่จะลดต้นทุนในด้านการขนส่งด้วย จึงทำให้ราคาเม็ดมะม่วงหิมพานต์ของไทยในระยะ2-3ปี ที่ผ่านมาได้ปรับราคาสูงขึ้นเป็นอย่างมาก นับว่าเป็นผลดีกับเกษตรกรที่ปลูกมะม่วงหิมพานต์เป็นอย่างยิ่ง ที่สามารถขายผลผลิตในราคาที่เพียงพอใจ จากราคาที่เคยขายได้เเค่กิโลล่ะ30-35บาท โดด เป็นราคา40ถึง60บาทต่อกิโลกรัม นี้ยังไม่นับผลผลิตที่แปรรูปเเล้วที่ขายได้ราคากิโลกรัมล่ะ350-550บาท(เเบ่งตามขนาดเเละเกรดของเม็ด) อีกทั้งผู้ประกอบการในประเทศที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการแปรรูปเม็ดมะม่วงหิมพานต์เอง ต้องกักตุนวัตถุดิบเพื่อใช้ในการแปรรูปเพื่อจำหน่าย ทำให้มีการแข่งขันด้านราคาที่เพิ่มมากขึ้น ที่นี้ขึ้นอยู่กับตัวเกษตรกรเองเเล้วว่าจะ ขายผลผลิตให้กับตัวเเทนจากไหนที่ให้ราคาได้น่าพอใจกว่ากันมะม่วงหิมพานต์ อย่างที่เราเคยรู้ๆกันว่า ถ้าพูดถึงเม็ดมะม่วงหิมพานต์เเล้วทุกคนจะต้องคิดว่ามาจากทางภาคใต้ของเรา มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชเศรษฐกิจที่นิยมปลูกกันมากที่ภาคใต้ เเละมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกไปตามภูมิภาคต่างๆของประเทศไทยเรื่อยๆมา ไม่ว่าจะเป็นภาคตะวันออก( ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) ที่นิยมปลูกกัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ ยโสธร) เเละภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งเป็นเเหล่งเพาะปลูกใหม่(อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร) เเต่ว่าในด้านการปรับปรุงพันธุ์มะม่วงหิมพานต์ของกรมวิชาการเกษตรได้หยุดชะงักลงเป็นระยะเวลากว่า20ปี ทำให้มะม่วงหิมพานต์ที่ปลูกในประเทศไทย ไม่ได้รับการพัฒนาด้านสายพันธุ์เท่าที่ควร หลังจากปี2530ที่ได้รับรองสายพันธุ์ มะม่วงหิมพานต์ศรีสะเกษ60-1 เเละ60-2 ที่ได้รับความนิยมจากเกษตรกร ในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นอย่างมาก ก็ยังไม่มีการพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ขึ้นมาทดเเทนเลย อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันนี้พื้นที่เพาะปลูกมะม่วงหิมพานต์ ได้มีเเนวโน้มลดลงเป็นอย่างมาก สาเหตุมาจาก มีพืชเศรษฐกิจอย่างอืนที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า ไม่ว่าจะเป็น อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด และยางพารา ทำให้เกษตรกรบางส่วนได้รื้อสวนมะม่วงหิมพานต์ หันไปปลูกพืชเศรษฐกิจดั้งที่กล่าวมา เเต่สาเหตุจริงๆก็คือมะม่วงหิมพานต์ที่เกษตรกรนำไปปลูกมีหลายหลายสายพันธุ์ ซึ่งพันธุ์ส่วนใหญ่ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพพื้นที่และสภาพภูมิอากาศในเเต่ล่ะจังหวัดได้ ส่งผลให้การออกดอกติดผลไม่ค่อยจะดีเท่าที่ควร ส่งผลให้ผลผลิตไม่ค้มกับต้นทุน เเต่ ณ ปัจจุบัน มะม่วงหิมพานต์กลับมาได้รับความนิยมอย่างมากมายอีกครั้ง เนื่องจากความต้องการในตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้นสูง อีกทั้งประเทศเพื่อนบ้านของไทยอย่าง กัมพูชา เเละ ลาว ได้เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดนี้เป็นจำนวนมาก เพื่อที่ต้องการป้อนตลาดอย่างเวียดนามนาม ที่ปัจจุบันต้องการเป็นจำนวนมาก เพื่อตอบสนองต่อลูกค้าในตลาดยุโรปเเละอเมริกา ทำให้เวียดนามต้องเร่งหาวัตถุดิบ ที่อยู่ใกล้ประเทศเค้าเอง เพื่อที่จะลดต้นทุนในด้านการขนส่งด้วย จึงทำให้ราคาเม็ดมะม่วงหิมพานต์ของไทยในระยะ2-3ปี ที่ผ่านมาได้ปรับราคาสูงขึ้นเป็นอย่างมาก นับว่าเป็นผลดีกับเกษตรกรที่ปลูกมะม่วงหิมพานต์เป็นอย่างยิ่ง ที่สามารถขายผลผลิตในราคาที่เพียงพอใจ จากราคาที่เคยขายได้เเค่กิโลล่ะ30-35บาท โดด เป็นราคา40ถึง60บาทต่อกิโลกรัม นี้ยังไม่นับผลผลิตที่แปรรูปเเล้วที่ขายได้ราคากิโลกรัมล่ะ350-550บาท(เเบ่งตามขนาดเเละเกรดของเม็ด) อีกทั้งผู้ประกอบการในประเทศที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการแปรรูปเม็ดมะม่วงหิมพานต์เอง ต้องกักตุนวัตถุดิบเพื่อใช้ในการแปรรูปเพื่อจำหน่าย ทำให้มีการแข่งขันด้านราคาที่เพิ่มมากขึ้น ที่นี้ขึ้นอยู่กับตัวเกษตรกรเองเเล้วว่าจะ ขายผลผลิตให้กับตัวเเทนจากไหนที่ให้ราคาได้น่าพอใจกว่ากัน