23 ก.พ. 2019 เวลา 14:06 • ท่องเที่ยว
77 จังหวัด กับ 68 สนามบิน ของประเทศไทย
ในประเทศไทยนั้นโดยทั่วไปแล้วคนส่วนใหญ่ น่าจะรู้ “ บริษัทท่าอากาศยานไทย “ ซึ่งเป็นผู้ให้บริการสนามบินทั้งสิ้น 6 สนามบิน
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานดอนเมือง
ท่าอากาศยานภูเก็ต
ท่าอากาศยานเชียงใหม่
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย
ท่าอากาศยานหาดใหญ่
แต่เรารู้หรือไหมว่าประเทศไทยของเรานั้น อื่นๆ ที่นอกเหนือจาก บริษัทท่าอาศยานไทย หรือ AOT แล้วนั้น ยังมีสนามบินที่บริหารโดยคนอื่นอีก คือ
สังกัดกรมท่าอากาศยาน (28 สนามบิน)
ท่าอากาศยานขอนแก่น
ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่
ท่าอากาศยานชุมพร
ท่าอากาศยานตรัง
ท่าอากาศยานแม่สอด
ท่าอากาศยานนครพนม
ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช
ท่าอากาศยานนราธิวาส
ท่าอากาศยานน่านนคร
ท่าอากาศยานบุรีรัมย์
ท่าอากาศยานหัวหิน
ท่าอากาศยานพิษณุโลก
ท่าอากาศยานแพร่
ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน
ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด
ท่าอากาศยานระนอง
ท่าอากาศยานเลย
ท่าอากาศยานลำปาง
ท่าอากาศยานสกลนคร
ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี
ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี
ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี
ท่าอากาศยานตาก
ท่าอากาศยานนครราชสีมา
ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์
ท่าอากาศยานปาย
สนามบินแม่สะเรียง
สนามบินอุตรดิตถ์
สังกัดบริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (3 สนามบิน)
ท่าอากาศยานสมุย
ท่าอากาศยานสุโขทัย
ท่าอากาศยานตราด
นอกเนื่องจากนี้ยังมีสนามบินที่อยู่กับกองทัพเรือ กองทัพบก กองทัพอากาศ และ อื่นๆ อีกเช่น (31 สนามบิน)
ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา
สนามบินน้ำพอง
สนามบินจันทบุรี
สนามบินบางพระ
สนามบินศรีราชา
สนามบินเก่าเชียงราย
สนามบินเขื่อนภูมิพล
สนามบินชุมชนอุ้มผาง
สนามบินเกาะไม้ซี้
สนามบินเกาะตะเคียน
สนามบินกำแพงแสน
สนามบินชะเอียน
ท่าอากาศยานตาคลี
สนามบินนครสวรรค์
สนามบินปราจีนบุรี
สนามบินกบินทร์บุรี
สนามบินประจวบคีรีขันธ์
ท่าอากาศยานเชียงคำ
สนามบินหล่มสัก
สนามบินขุนยวม
สนามบินโพธาราม
สนามบินรอบเมือง
สนามบินโคกกระเทียม
สนามบินบ้านธิ
สนามบินนก
สนามบินลำพูน
ท่าอากาศยานสงขลา
สนามบินควนขัน
สนามบินปากเพรียว
สนามบินวัฒนานคร
ท่าอากาศยานสุรินทร์ภักดี
ถึงแม้บ้างสนามบินจะไม่ได้ใช้งานเนื่องจากไม่คุ้มค่าหรือแม้แต่ใช้เป็นพื้นที่ของกองทัพก็น่าสนใจว่าในอนาคตเราอาจจะเห็นการบินแบบ point to point ระหว่างจังหวัดกันมากขึ้นถ้าหากมี demand มากพอ
โฆษณา