Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
มุมมองแห่งความรู้
•
ติดตาม
2 มิ.ย. 2019 เวลา 09:27 • วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี
ถ้าอยากรอดบนดาวอังคารต้องทำยังไง?
credit: The Martian
ดาวอังคารถือได้ว่าเป็นดาวที่ใกล้โลกเรามากที่สุด ที่ผ่านมามนุษย์พยายามอย่างมากในการศึกษาดาวดวงนี้ ในปี1969 มนุษย์สามารถสร้างยานอวากาศไปเหยียบดวงจันทร์สำเร็จเป็นประวัติศาสตร์และเมื่อไม่นานมานี้ NASA สามารถสร้างยานอวากาศ insight ลงจอดบนดาวอังคารเพื่อที่จะศึกษาสภาพแลดล้อมใต้ดิน..
เหตุผลที่เราศึกษาดาวอังคารก็เพื่อในอนาคตข้างหน้าบางทีโลกอาจไม่สามารถอยู่ได้อีกต่อไป หรือ บางทีดาวอังคารอาจมีทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับมนุษย์เรา..
ยาน insight ใช้เวลามากกว่าหกเดือนในการเดินทางจากโลกสู่ดาวอังคาร..
สมมุติว่าคนเราต้องการที่จะสร้างอณานิคมบนดาวดวงไหม่อย่างดาวอังคาร คุณคิดว่าเราต้องทำอย่างไรบ้างเพื่อที่จะอยู่รอดบนดาวแดงดวงนี้?
รังสีบนดาวอังคาร
รังสีบนดาวอังคาร
ดาวอังคารมี้ชั้นบรรยากาศที่เบาบางมากเมื่อเทียบกับโลก อีกทั้งดาวดวงนี้ยังไม่มีอากาศที่มนุษย์เราสามารถหายใจได้ การที่เราจะรอดจากสภาพอากาศอันเลวร้ายของดาวอังคารนั้น เราจำเป็นจะต้องสร้างฐานที่สามารถปกป้องเราจากรังสีอันตรายและความหนาวเย็นสุดขั้วของดาวอังคาร.
การสร้างฐานบนดาวอังคาร
การที่เราจะออกมาข้างนอกฐานนั้น จำเป็นอย่างมากที่จะมีชุดอวากาศประสิทธิภาพสูง ที่สามารถปกป้องและทนจากความหนาวเหน็บและรังสีพร้อมกับสามารถบรรจุถังออกชีเจนเพื่อที่จะหายใจ.
ชุดอวากาศใน The Martian
นอกจากฐานที่คอยปกป้องเราแล้ว น้ำ อาหาร อากาศ และพลังงาน คือสิ่งที่เราขาดไม่ได้
การที่เรานำส่งสิ่งหล่านี้จากโลกไปยังดาวอังคารนั้นคงใช้เวลาและงบประมาณหลายพันล้าน แน่นอนในอนาคตมะนุษย์จำเป็นจะต้องมีเทคโนโลยีที่สามารถผลิต สิ่งเหล่านี้บนดาวอังคาร
น้ำ อาหาร อากาศ พลังงาน
ในอนาคตเราอาจสร้างดาวอังคารให้เป็นเหมือนกับโลก
ชั้นบรรยากาศดาวอังคาร
ไม่แน่ในอนาคตมนุษย์เราอาจสร้างดาวอังคารให้มีอากาศและสามารถอาศัยได้ แนวคิดก็คึอการนำเอาทาตุตา่งๆที่เป็นปัจใจหลักของการมีชีวิตหลายล้านตันใส่บนดาวอังคาร อาทิ คาร์บอน ไนโตรเจนและออกชิเจน...เพื่อทำให้อุณภูมิดาวอังคารอุ่นขื้น
แต่ที่หน้าตกใจก็คือเราอาจใช้เวลาหลายพันปีก่วาจะทำอย่างนั้นได้...
ดาวอังคาร
การสร้างอนานิคมบนดาวอังคารอาจเป็นไปได้ หรือมีประโยชน์ต่อมนุษย์ในอนาคตก็จริง..
แต่ท้ายที่สุดแล้วการที่เราดูแลรักษาโลกสีฟ้าใบนี้ของเราให้หน้าอยู่มากขื้น ก็ยังสำคัญกว่าอยู่ดี..
2 บันทึก
32
12
6
2
32
12
6
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย