โดยในปี 1986 professor Barbara L. Drinkwater President of American College of Sports Medicine ได้ให้คำจำกัดความไว้ว่าเป็นกลุ่มอาการที่พบในนักกีฬาเพศหญิงที่ออกกำลังกายหนักประกอบด้วยความผิดปกติ 3 ประการได้แก่
Common stress fractures in runners: An analysis from Topographical location of stress fractures in runners according to the weekly running (kilometers load) schedule http://www.sjosm.org
เรียงลำดับตำแหน่งที่พบมากที่สุด ของนักวิ่ง คือ
1.กระดูกหน้าแข้ง(tibia)
2.กระดูกฝ่าเท้า (metatarsal)
3.กระดูกข้างหน้าแข้ง(fibular)
4.กระดูกเชิงกราน(pelvis)
5.กระดูกเท้า navicular
6.กระดูกต้นขา(femur)
7.กระดูกส้นเท้า(calcaneus)
สภาวะหนึ่งที่พบไม่บ่อยแต่ซีเรียสมาก คือ ภาวะหัวใจหยุดเต้นในนักกีฬา Sudden Cardiac Death (SCD) in Athletes
เรียกว่า last mile run เพราะทุกคนพอรู้ว่าจะเข้าเส้นชัยก็จะพยายามวิ่งให้เร็วขึ้นเพื่อทำให้สถิติการวิ่งดีขึ้น ดังนั้นถ้าเราซ้อมมาแบบไหนก็ควรวิ่งแบบนั้นนะครับ ไม่ฝืนตัวเอง
WHO แนะนำว่าให้ออกกำลังกายแบบแอโรบิกระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์หรือถ้าชอบออกกำลังกายระดับหนัก ควรอยู่ที่ 75 นาทีต่อสัปดาห์
ออกกำลังกายแบบแอโรบิคระดับปานกลาง โอกาสเกิด AF 0.87 เท่า ซึ่ง AF นำมา ซึ่งภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน(SCD) ได้
แผนผังแสดงสมมุติฐานการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจบาดเจ็บในนักกีฬา The Exercise Rehabilitation Paradox: Less May Be More?
Parto P, O'Keefe JH, Lavie CJ. Ochsner J. 2016 Fall;16(3):297-303.