16 พ.ค. 2020 เวลา 13:29 • การศึกษา
GOLD COPD Part II : รีวิวการปรับยา COPD และ ลงรายละเอียดการใช้ ICS (Inhaled Corticosteroid) กับ COPD 😚😚
📕 Based on 3 paper GOLD 2020 Report / Pharmacologic Management of COPD: An Official American Thoracic Society Clinical Practice Guideline / Withdrawal of Inhaled Corticosteroids in Chronic Obstructive Pulmonary Disease: A European Respiratory Society Guideline (ERJ 2020)
🐛ครั้งที่แล้ว เราพูดถึงการเริ่มยาในคนไข้กลุ่มนี้ แบ่งตามการประเมิน Symptoms เป็น กลุ่ม A,B,C,D ตามลำดับ หลังจากกนั้นเราก็จะมาเลือกยา โดย
🐛 การติดตามอาการนั้น แบ่งการประเมินเป็นดังนี้
1
+ Review : Symptoms -dyspnea และ Exacerbations
+ Asssess : Inhaler techniques and adherence, Non-pharmacological approaches (เช่น pulmonary rehabilatation)
+ Adjust : Escalate, Switch inhaler device or molecules, De-escalate
🐛 การประเมินเรื่อง Dyspnea (ตาม slide)
+ ให้ประเมินภาวะ persistent breathlessness หรือ exercise limitation
+ ถ้าใช้ long-acting bronchodilator monotherapy : ให้ปรับเป็น two bronchodilator
+ ถ้าใช้ยา bronchodilator 2 ตัวแล้ว อาการยังไม่ดีขึ้น อาจปรับมาเป็น monotherapy และ ปรับตัว inhaler device หรือ molecule
+ ถ้าเดิม on ICS/LABA อาจจะ add LAMA เพิ่มเข้าไป เป็น ICS/LABA/LAMA หรือ อาจจะเป็น LABA/LAMA ขึ้นกับ indication ของ steroid ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป
+ แต่อย่าลืมว่า Dyspnea อาจเกิดจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ COPD ซึ่งควรจะประเมินและสืบค้นหาสาเหตุ อย่างเหมาะสม
🐛 การประเมินเรื่อง Exacerbation (ตาม slide)
+ ในคนไข้ที่ persistent exacerbation โดยที่ on long-acting bronchodilator monotherapy ให้ปรับเป็น LABA/LAMA or LABA/ICS
+ โดย LABA/ICS จะได้ประโยชน์ในคนไข้ที่มี history หรือ finding ที่มีลักษณะ asthma
+ คนไข้ที่จะได้ประโยชน์จาก LABA/ICS : 
++ Eosinophil >,= 300 / 1 exacerbaton/year
++ Eosinophil >,= 100 / >,= 2 exacerbatons/year / หรือมี 1 severe exacerbation ในปีนั้น ที่ต้องนอน รพ.
+ ถ้า on LABA + LAMA + Eosinophil < 100 - ให้ประเมินการใช้ Rofumilast, Azithromycin
+ คนไข้ที่ on LABA/ICS ปรับได้เป็น
a. Triple Therapy (LABA + LAMA + ICS)
b. ปรับลดเป็น LABA/LAMA เมื่อ คนไข้ lack of response of ICS, inappropriate original indication, pneumonia
+ คนไข้ที่ on Triple Therapy (LABA + LAMA + ICS) แล้วยังมี exacerbation ให้ประเมินการใช้ Rofumilast, Azithromycin, ปรับลด ICS ตามข้อบ่งชี้
🐛 การใช้ ICS (Inhaled cortocosteroid)
+ การใช้ ICS alone : ไม่มีผลต่อการลดของ long-term FEV1, เพิ่ม mortality ในคนไข้กลุ่ม COPD (Torch study)
+ การใช้ ICS + LABA : improve lung function, health status และ ลด reducing exacerbations
1
🐛ปัจจัยที่จะมีผลต่อการเลือกเริ่มใช้ ICS กับ ผู้ป่วย COPD
+ Strong support : history of hospitalization for exacerbations of COPD, >= 2 moderate exacerbations of COPD per year, blood eosinophil > 300 , history of, or concomitant,asthma
+ Consider use : 1 moderate exacerbbatin of COPD per year, blood eosinophil 100-300
+ Against use : repeated pneumonia events, blood eosinophil < 100, history of tuberculosis
+ ผลข้างเคียงของการใช้ ICS : oral candidiasis, hoarse voice, skin bruit, pneumonia, TB (อาจมีผลต่อ bone density-fracture,DM, cataract)
🐛 การปรับลด ICS
📕ใน ATS : กรณีที่ on ICS/LABA/LAMA - แนะนำว่า สามารถเอา ICS ออกได้ ถ้าคนไข้ไม่มีภาวะ exacerbation ในปีที่ผ่านมา
📕ใน ATS : การใช้ oral steroid ในคนไข้ที่มี severe และ frequent exacerbation : ไม่แนะนำในการใช้แบบ maintainance
📕 จาก ERS
+ คนไข้ COPD ที่ไม่มีประวัติ frequent exacerbation แนะนำ ICS withdrawal
+ ไม่แนะนำให้ ICS withdrawl ในคนไข้ทีมี eosinophil >,= 300 โดยที่มีหรือไม่มีภาวะ frequent exacerbation
+ หลังจาก ICS withdrawl ในคนไข้ COPD แล้วนั้น แนะนำให้รักษาต่อด้วย long-acting bronchodilator
Reference
GOLD 2020 Report
Pharmacologic Management of COPD: An Official American Thoracic Society Clinical Practice Guideline
Withdrawal of Inhaled Corticosteroids in Chronic Obstructive Pulmonary Disease: A European Respiratory Society Guideline (ERJ 2020)
โฆษณา