12 ก.ค. 2020 เวลา 09:11 • ปรัชญา
เพลโต
เพลโต
อ่านในภาษาอื่น
ดาวน์โหลด
เฝ้าดู
แก้ไข
เรียนรู้เพิ่มเติม
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด
เพลโต (Πλάτων)
Platon-2.jpg
เกิด
c. พ.ศ. 116-พ.ศ. 117, เอเธนส์
เสียชีวิต
c. พ.ศ. 196-พ.ศ. 197, เอเธนส์
ยุค
ปรัชญาโบราณ
แนวทาง
ปรัชญาตะวันตก
สำนัก
พลาโตนิซึม
ความสนใจหลัก
Rhetoric, ศิลปะ, วรรณกรรม, ญาณวิทยา, ความยุติธรรม, Virtue, การเมือง, การศึกษา, ครอบครัว, การทหาร
แนวคิดเด่น
ความเป็นจริงของพลาโต
ได้รับอิทธิพลจาก
โสกราตีส, โฮเมอร์, เฮซอย, Aristophanes, Aesop, Protagoras, Parmenides, Pythagoras, Heraclitus, Orphism
เป็นอิทธิพลต่อ
อริสโตเติล, Neoplatonism, กิแกโร, Plutarch, Stoicism, Anselm, Descartes, Hobbes, Leibniz, Mill, Schopenhauer, Nietzsche, Heidegger, Arendt, Gadamer and countless other western philosophers and theologians
"แนวคิดหลักทางปรัชญาของยุโรป ล้วนแต่เป็นเชิงอรรถของเพลโต" -- อัลเฟรด นอร์ท ไวท์เฮด, Process and Reality, ค.ศ. 1929
เพลโต (ในภาษากรีก: Πλάτων Plátōn, อังกฤษ: Plato) (427 - 347 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีส เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์
เพลโตใช้เวลาส่วนใหญ่สอนอยู่ที่อาคาเดมี แต่เขาก็ได้เขียนเกี่ยวกับปัญหาทางปรัชญาไว้เป็นจำนวนมาก โลกปัจจุบันรู้จักเขาผ่านทางงานเขียนที่หลงเหลืออยู่ ที่ถูกนำขึ้นมาแปลและจัดพิมพ์เป็นในช่วงการเคลื่อนไหวด้านมนุษยนิยม งานเขียนของเพลโตนั้นส่วนมากแล้วเป็นบทสนทนา คำคม และจดหมาย ผลงานที่เป็นที่รู้จักของเพลโตนั้นหลงเหลืออยู่ทั้งหมด อย่างไรก็ตามชุดรวมงานแปลปัจจุบันของเพลโตมักมีบางบทสนทนาที่นักวิชาการจัดว่าน่าสงสัย หรือคิดว่ายังขาดหลักฐานที่จะยอมรับว่าเป็นของแท้ได้
ในบทสนทนาของเพลโลนั้น บ่อยครั้งที่มีโสกราตีสเป็นตัวละครหลัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนว่าความเห็นส่วนใดเป็นของโสกราตีส และส่วนใดเป็นของเพลโต
ประวัติ
ผลงาน
อภิปรัชญาของเพลโต: ลัทธิเพลโต หรือ สัจนิยม
ประวัติของสาขาวิชาที่ศึกษาเพลโต
แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1 ปีก่อนโดย Potapt
หน้าที่เกี่ยวข้อง
แอริสตอเติล
อุตมรัฐ
ปรัชญากับวรรณกรรม
วิกิพีเดีย
เนื้อหาอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้ CC BY-SA 3.0 เว้นแต่ระบุไว้เป็นอื่น
นโยบายความเป็นส่วนตัวข้อกำหนดการใช้งานคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
โฆษณา