24 ก.ค. 2020 เวลา 02:27 • ปรัชญา
ครอบครัวกับศีล
คราวที่แล้วผมตั้งประเด็นให้ขบคิดเกี่ยวกับศีลกับเพศในสังคม วันนี้จะต่อด้วยประเด็นที่เหลือ
ประเด็นที่สอง ผู้ที่มีคู่ครองหลายคน แล้วเสพกามกันเองในบรรดาคู่ครองหลายคนนั้น หญิงหรือชายที่มีผัวหรือเมียหลายคน หลังจากได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์รักษาให้อยู่กินให้ใครแล้วเสพกามกันเองในครอบครัวโดยอาจจะผลัดเวียนกันหรือพร้อมกันครั้งละหรือครั้งละหลายคน ประเด็นทำให้สับสนว่าศีลข้อนี้ต้องคิดภายใต้กรอบคิด “ผัวเดียวเมียเดียว” ข้อเท็จจริงมีอยู่ว่ากรอบคิดผัวเดียวเมียเดียวเป็นอิทธิพลจากคริสตศาสนาในศตวรรษที่ 18 ที่ไปพร้อมกับการล่าอาณานิคมสู่สังคมหญิงเป็นใหญ่เมียเดียวหลายผัวนับญาติฝ่ายแม่ในยุคศาสนา และสังคมชายเป็นใหญ่เป็นผัวเดียวหลายเมียนับญาติฝ่ายพ่อในยุคหลังศาสนา ด้วยกรอบคิดแบบนี้ถือว่าเป็นครอบครัวเดียวกันทั้งสิ้น
ประเด็นข้างเคียงคือถ้าบรรดาเมียๆ ด้วยกัน หรือบรรดาผัวๆ ด้วยกันร่วมเพศหรือสำเร็จความใคร่ให้กันและกัน ซึ่งต่างฝ่ายอยู่ในสถานะเดียวกัน แต่แน่นอนว่าแต่ละคนก็ได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์รักษา และอำนาจปกครองดังกล่าวส่วนหนึ่งก็ถูกโอนไปอยู่กับคู่ครองด้วย ในฐานะครอบครัวเดียวกันก็มีความรับรู้ยินยอมโดยพฤตินัย
ประเด็นที่สาม เมื่อไม่มีจารีตห้ามบุพการีเสพกามกับบุตรด้วยความยินยอม พอใจทั้งสองฝ่าย บุพการีเสพกามกับบุตรด้วยความพอใจยินยอมซึ่งกันและกัน ศาสนาพุทธได้ให้แนวทางของหน้าที่ของบุพการีต่อบุตรว่า ให้สอนทำความดี ห้ามให้ทำชั่ว ให้การศึกษา หาคู่ครองที่สมควรให้ และมอบมรดก และหน้าที่ของบุตรที่มีบุพการีว่า ให้เลี้ยงดูตอบแทน รับช่วงกิจการ ดำรงวงศ์ตระกูล ปฏิบัติตัวให้สมควรรับมรดก อุทิศบุญกุศลให้ ผมเข้าใจว่าความหมายของหน้าที่นั้นต้องเป็นไปตามความหมายของพุทธ แต่ไม่มีการสอนเรื่องเพศ ที่ดูจะเป็นเรื่องไม่สุภาพในสังคม และสกปรกไม่ควรพูดถึงในมุมศาสนา ทั้งที่เป็นเรื่องธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ประเด็นข้างเคียงคือโคตรตระกูลญาติพี่น้องมีอำนาจพิทักษ์รักษามากกว่าบุพการีโดยตรงหรือไม่ ถ้าบุพการีและบุตรต่างยินยอมพอใจเสพกามกัน แต่ถูกทัดทานจากโคตรตระกูลญาติพี่น้อง ถ้าบุพการีและบุตรต่างเชื่อฟังแล้วหยุดคิดจะเสพกามก็แล้วไป แต่ถ้าบุพการีและบุตรดื้อรั้นขึ้นมา น้ำหนักความสำคัญอำนาจปกครองบุตรของบุพการีโดยตรง หรือความอาวุโสกว่าบุพการีของโคตรตระกูลต่อหลาน เหลน
เมื่อศีลไม่เคยมีเพศ กรณีเสพกามด้วยเพศเดียวกัน ก็พึงใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน สำหรับผมไม่มีประเด็นเท่าไหร่
ผมไม่อาจหาญที่บอกว่ากรณีใดทำให้ศีลขาด หรือบกพร่องด่างพร้อยไม่สมบูรณ์ ขึ้นอยู่กับกรอบคิดของแต่ละคนว่าเคร่งครัดหรือผ่อนปรนตามสังคม เพียงต้องการเสนอประเด็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยโบราณถึงปัจจุบัน เพื่อให้คิดขบทบทวนความเป็นปกติของศีล ความเป็นอะกาลิโกของธรรม ปรับกับข้อเท็จจริงข้างต้นหรืออาจมีประเด็นอื่นๆ ด้วยเจตนาที่ไม่อยากให้ศาสนาเป็นเพียงความเชื่อ ที่ปฏิบัติกัน พูดกันโดยไม่มีวิจารณญาณ ขาดกระบวนการแสวงหาความรู้ นำไปสู่การค้นพบความจริง
โฆษณา