12 ต.ค. 2020 เวลา 00:39 • วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี
ศาสตราจารย์ เอ็มมานูเอล ชาร์เพนทิเยร์ ชาวฝรั่งเศส และศาสตราจารย์ เจนนิเฟอร์ เดาด์นา ชาวอเมริกัน เป็นสองนักชีวเคมีและพันธุศาสตร์หญิง ที่สามารถพิชิตรางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปีนี้ไปครอง ด้วยผลงานการคิดค้นและพัฒนาเทคนิคใหม่เพื่อตัดต่อข้อมูลพันธุกรรมหรือจีโนม (Genome) ซึ่งวิธีนี้มีชื่อเรียกกันว่า “คริสเปอร์-แคสไนน์” (CRISPR-Cas9)
แม้เทคนิคนี้จะเพิ่งคิดค้นขึ้นมาในช่วงปี 2012 แต่ก็มีการนำไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางและหลากหลายอย่างยิ่งในปัจจุบัน โดยคณะกรรมการผู้ตัดสินรางวัลโนเบลสาขาเคมีของปีนี้กล่าวว่า “การที่เราตัดต่อแก้ไข DNA ตรงจุดไหนก็ได้ตามต้องการนั้น เท่ากับเราสามารถจะสร้างรหัสแห่งชีวิตเสียใหม่ และปฏิวัติวงการชีววิทยาศาสตร์”
เลือกฟังกันได้เลยนะครับ อย่าลืมกด Follow ติดตาม PodCast ช่อง Geek Forever’s Podcast ของผมกันด้วยนะครับ
🎧 ฟังผ่าน Podbean :
🎧 ฟังผ่าน Apple Podcast :
🎧 ฟังผ่าน Google Podcast :
🎧 ฟังผ่าน Spotify :
🎧 ฟังผ่าน Youtube :
=========================
ติดตาม ด.ดล Blog ผ่าน Line OA เพียงคลิก :
=========================
ช่องทางติดตาม ด.ดล Blog เพิ่มเติมได้ที่

ดูเพิ่มเติมในซีรีส์

โฆษณา