24 พ.ย. 2020 เวลา 13:43 • ปรัชญา
บทความที่ 58 “THE WOLF PACK”
กลยุทธจัดทัพไล่ล่าเหยื่อของหมาป่า
The Wolf Pack That Won't Go Away
The Wolf Pack That Won't Go Away
กลยุทธไล่ล่าเหยื่อของหมาป่าไม่แตกฝูง
ถอดบทความจาก LinkedIn:
It’s one of those stories that no matter how many times it gets refuted, it keeps popping up. Especially in social media, and in particular on LinkedIn. It’s the story of the wolf pack and how it’s organized. I've written about it before, but the durability of the story never ceases to amaze me.
นี่เป็นเรื่องหนึ่งที่ถูกสื่อเห็นต่างบิดเบือนความจริงครั้งแล้วครั้งเล่าแต่ก็มิได้หดหายไปตามกระแสวิพากษ์วิจารณ์ กลับมีป๊อบอัพในสื่อสังคมออนไลน์อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะลิงค์ต่างๆก็ลงเรื่องราวการจัดยุทธวิธีเหนือเมฆการเดินทางของหมาป่า ก่อนหน้านี้ผมก็เคยเขียนเรื่องนี้ลงสื่อ ซึ่งเรื่องราวที่น่าทึ่งนี้ไม่เคยทำให้ผมเสื่อมความอัศจรรย์นี้ได้
When obviously fake negative news stories are shared in social media, the people who have shared it sometimes react to the news that they're untrue along the lines of ”I don’t care that it’s a lie, it’s still terrible!”
เมื่อมีการแชร์เรื่องจริงเท็จเป็นทางลบในสื่อสังคมออนไลน์ คนที่แชร์เรื่องนั้นบางครั้งก็มีปฏิกิริยาต่อต้านว่าเป็นเรื่องไม่จริงในไลน์ต่างๆว่า “ฉันไม่แคร์ว่ามันเป็นเรื่องโกหกหรือโกเจ็ด แต่มันก็น่าปวดหมองน่ะ”
The story about the wolves mirrors this sentiment, even though the context is positive and heart-warming. We so desperately want it to be true, that we continue to share it again and again.
เรื่องราวเกี่ยวกับหมาป่านี้เหมือนกระจกเงาที่สะท้อนให้เราเห็นภาพพจน์แม้ในบริบทนั้นเป็นเรื่องสร้างสรรค์ที่เตือนสติ เราก็ยังมีความรู้สึกที่หดหู่เหมือนคนสิ้นหวังที่อยากเห็นว่ามันเป็นความจริง จึงแช่แล้วแชร์อีกอย่างต่อเนื่อง
Here’s the story, in case you missed it. It is centered around an image (the one you see in the header, with colors added to highlight the different "parts" of the pack):
เรื่องเล่าขานกันมาดังนี้ ถ้าคุณยังไม่ได้อ่าน เมื่อโฟกัสที่ศูนย์กลางรอบๆภาพที่ปรากฎ (ภาพบนหัวข้อแต้มสีเป็นไฮไลต์ให้เห็นความ ”แตกต่าง” การเดินทางของฝูงหมาป่า)
“A wolf pack: the first 3 are the old or sick, they give the pace to the entire pack. If it was the other way round, they would be left behind, losing contact with the pack. In case of an ambush they would be sacrificed.
Then come 5 strong ones, the front line. In the center are the rest of the pack members, then the 5 strongest following. Last is alone, the alpha.
“กลยุทธการจัดทัพ: หมาป่า 3 ตัวแรกคือหมาแก่หรือหมาที่บาดเจ็บ ทั้งฝูงจะทิ้งระยะห่างตามฝีเท้า ถ้าจัดทัพต่างจากนี้มันจะตามฝูงไม่ทันถูกทอดทิ้งเบื้องหลังติดต่อกับฝูงไม่ได้กรณีย์ที่มีศัตรูซุ่มจู่โจมมันจะเป็นผู้เสียสละ ที่ถัดมาคือผู้พิทักษ์ที่แข็งแรงทั้ง 5 ที่อยู่แนวหน้า กลุ่มใหญ่ของฝูงจะอยู่ตรงกลางขบวน ที่ถัดมาคือผู้พิทักษ์อีก 5 ตัวที่แข็งแรงที่สุดคอยคุ้มกันขบวนและตามมาด้วยตัวท้ายสุดอยูโดดเดี่ยวที่คุมท้ายขบวน
He controls everything from the rear. In that position he can see everything, decide the direction. He sees all of the pack. The pack moves according to the elders pace and help each other, watch each other.”
And here is what the fact-checking site Snopes had to say about this story already four years ago:
มันจะควบคุมบัญชาการฝูงอยู่ด้านหลังทุกเรื่องในจุดตำแหน่งนั้นมันจะมองเห็นได้ทั่วถึงตัดสินใจได้ดีทุกทิศทาง มันจะมองเห็นหมาป่าทั้งฝูงขณะเดินทางฝูงหมาป่าจะเดินทิ้งระยะห่างตามฝีก้าวเดินของผู้อาวุโสและคอยให้ความช่วยเหลือเฝ้าระวังภัยให้กัน” และนี่คือความจริงที่เคยตรวจสอบในเวปไซต์ Snopes ที่พูดถึงเรื่องนี้เมื่อสี่ปีที่แล้ว
The photograph shown was taken by Chadden Hunter and featured in the BBC documentary Frozen Planet in 2011, with its original description explaining that the “alpha female” led the pack and that the rest of the wolves followed in her tracks in order to save energy:
ภาพที่ปรากฏนั้น Chudden Hunter เป็นผู้บันทึกไว้ และได้รับการแพร่ภาพทางออกอากาศในสารคดี BBC documentary Frozen Planet 2011, มีคำบรรยายต้นฉบับขยายความว่า “alpha female” หมาป่าเพศเมียที่อยู่รั้งท้ายสุดคุมฝูงนั้นเป็นผู้คุมฝูงหมาป่า และหมาป่าตัวอื่นจะเดินตามเส้นทางที่เธอกำหนดเพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน
A massive pack of 25 Timberwolves hunting bison on the Arctic circle in northern Canada. In mid-winter in Wood Buffalo National Park temperatures hover around -40°C. The wolf pack, led by the alpha female, travel single-file through the deep snow to save energy.
ฝูงหมาป่านักล่าขนปุกปุยสีเทาฝูงใหญ่ถึง 25 ตัวที่ไล่ล่ากระทิงในขั้วโลกเหนือ Arctic circle ทางตอนเหนือของประเทศคานาดา กลางฤดูหนาวในป่าสงวนแห่งชาติ Wood Buffalo National Park ซึ่งมีอุณหภูมิประมาณ -40’C องศา ฝูงหมาป่านำโดย alpha คือหมาป่าในตำแหน่งต้นขบวนเป็นตัวเมีย ผู้นำฝูงในการไล่ล่าเหยื่อตามลำพังที่ต้องเผชิญลุยหิมะที่ทับถมกันสูงแน่นหนาเพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน
The size of the pack is a sign of how rich their prey base is during winter when the bison are more restricted by poor feeding and deep snow. The wolf packs in this National Park are the only wolves in the world that specialize in hunting bison ten times their size. They have grown to be the largest and most powerful wolves on earth.
ขนาดของฝูงนักล่าเป็นสัญญาณเตือนว่าเหยื่อของมันนั้นมีความอุดมสมบูรณ์แค่ไหนระหว่างฤดูหนาวที่มีขีดจำกัดในการหาอาหารที่มีหิมะทับถมกันอย่างแน่นหนาเช่นนี้ หมาป่าในป่าสงวนแห่งชาติเป็นหมาป่าชนิดเดียวในโลกที่มีทักษะเชี่ยวชาญในการไล่ล่าวัวกระทิงที่มีขนาดใหญ่กว่ามันถึงสิบเท่ามันจึงเติบโตสูงใหญ่ที่สุด และทรงพลังที่สุดในบรรดาหมาป่าบนโลกนี้
The greatest story ever told
เป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่ทีสุดที่เคยเล่าขาน
The biggest reason why storytelling is such a powerful tool of persuasion is that it affects us on a number of levels, and very deeply at that. Stories can make us sad and happy at the same time, they can transport us across continents and centuries in an instant.
เหตุผลที่สำคัญที่สุดว่าเหตุใดเรื่องเล่าที่ทรงพลานุภาพในการใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการโน้มน้าวมีผลต่อคนระดับเราท่านได้มากมายเช่นนี้ และยิ่งไปกว่านั้นยังถึงกับซาบซึ้งอินกับเรื่องนี้สุดๆที่ทำให้เกิดความเศร้าสลดและปนความสุขในเวลาเดียวกัน หมาป่าเหล่านี้ยังสามารถนำเราทั้งหลายข้ามทวีปและข้ามศตวรรษได้ในชั่วพริบตา
They can invoke memories and change our future. We have no way to protecting ourselves from a great story, nor would we want to - most of the time.
หมาป่าเหล่านี้สามารถฟื้นฟูความทรงจำและพลิกผันอนาคตของเราที่ไม่มีทางป้องกันตัวเองได้จากเรื่องราวที่ยิ่งใหญ่นี้ได้ ถึงแม้เราไม่ต้องการเช่นนั้น - ในเวลาสำคัญดังกล่าว
The story about the wolf pack affects us in many ways. It is in itself a wonderful tale of how a group can transform from individuals into something greater, of a leader that protects its flock, and of finding qualities we associate with the best of humanity present among animals. For generations raised on Disneyesque stories of animals behaving like humans, this one certainly has the ring of truth.
เรื่องราวเกี่ยวกับการเดินทางของฝูงหมาป่ามีผลกระทบต่อเราหลายทาง ทางหนึ่งคือเป็นเรื่องราวที่อัศจรรย์ ฝูงหมาป่าสามารถปฎิรูปจากแต่ละตัวที่ธรรมดาๆให้เป็นอีกหนึ่งเดียวที่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม ที่แต่ละตัวกลายเป็นผู้นำที่ปกป้องฝูงได้ ประกายความคิดให้เราได้ค้นพบว่าคุณภาพชีวิตของสังคมที่อยู่ร่วมกันคือของขวัญที่ดีที่สุดที่มนุษยชาติได้เรียนรู้จากสัตว์ นับว่าจากรุ่นสู่รุ่นเป็นตำนานเล่าขานของชาวเสปนในการสอนสั่งเลี้ยงดูส่งต่อรุ่นลูกหลาน ได้เรียนรู้ว่าสัตว์ต่างๆก็มีพฤติกรรมคล้ายคลึงกับมนุษย์ เรื่องนี้คือลูกโซ่แห่งความเป็นจริง
So on an emotional level we react along the lines of ”it speaks to me, therefore it must be true.
ดังนั้นจากพฤติกรรมระดับอารมณ์ที่เรามีปฏิกิริยาจากการตอบโต้ในไลน์ “ที่สนทนากับผมนั้นจึงต้องยืนยันได้ว่าเป็นความจริง
#IOU# THE WOLF PACK
กลยุทธ์จัดทัพไล่ล่าเหยื่อของหมาป่า
โฆษณา