Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
UpSara
•
ติดตาม
1 ธ.ค. 2020 เวลา 13:03 • วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี
ไขความลับอุกกาบาตล้างเผ่าพันธ์ุไดโนเ
เยี่ยมชม
youtube.com
อุกกาบาตล้างเผ่าพันธ์ุไดโนเสาร์ | SPACE FACTS 🇹🇭
ถึงแม้ว่าชั้นบรรยากาศมีส่วนช่วยลดแรงกระทบสู่พื้นผิวของวัตถุขนาดใหญ่ แต่หลายๆ เหตุการณ์ที่สำคัญ ยังคงหล่อหลอมประวัติศาสตร์โลกให้เราได้เรียนรู้ การก่อตัวของระบ...
ถึงแม้ว่าชั้นบรรยากาศมีส่วนช่วยลดแรงกระทบสู่พื้นผิวของวัตถุขนาดใหญ่ แต่หลายเหตุการณ์ที่สำคัญยังคงหล่อหลอมประวัติศาสตร์โลกให้เราได้เรียนรู้ การก่อตัวของระบบโลก ดวงจันทร์ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ต้นกำเนิดของน้ำและการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่
เมื่อ 66 ล้านปีก่อน ดาวหางขนาดใหญ่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 11 ถึง 81 กิโลเมตรพุ่งชนโลกด้วยความเร็ว 64,370 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
จนทำให้เกิดเป็นหลุมอุกกาบาตชิกซูลุบ ครึ่งหนึ่งของหลุมอุกกาบาตจมอยู่ในทะเลและอีกครึ่งหนึ่งถูกฝังอยู่ใต้พื้นดินบริเวณคาบสมุทรยูคาตันในเม็กซิโก
เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้สิ่งมีชีวิต 75% บนโลก รวมถึงไดโนเสาร์ถูกล้างเผ่าพันธุ์จบสิ้นชีวิตและสูญพันธ์กลายเป็นหลุมอุกกาบาตชิคซูลุบ
เรานำอายุของหินเมื่อ 66 ล้านปีก่อนมาตรวจสอบซึ่งตรงกับช่วงเวลาสิ้นสุดยุคไดโนเสาร์ แสดงให้เห็นว่าการชนโลกของอุกกาบาตชิคซูลุบในครั้งนั้นเป็นวันสิ้นสุดของยุคและทำให้เกิดปากปล่องภูเขาไฟขนาดใหญ่
เกิดอะไรขึ้นหลังอุกกาบาตพุ่งชนเมื่อ 66 ล้านปีก่อน?
ปริมาณกำมะถันระเหยเป็นไอขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศหลังอุกกาบาตพุ่งชนทำให้ไดโนเสาร์ต้องเผชิญกับสภาพอากาศหนาวที่หนาวเหน็บเป็นเวลา 3-16 ป
หลังจากนั้นโลกมีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง
หากอุกกาบาตพุ่งชนโลกช้าลงจะเกิดอะไรขึ้
อุกกาบาตจะตกลงในมหาสมุทรแอตแลนติกหรือแปซิฟิ
ไอกำมะถันไม่ผสมกับฝุ่นควันและแสงอาทิตย์ยังคงส่องลงมาถึงพื้นโลก
ที่สำคัญไดโนเสาร์จะมีชีวิตรอดมาถึงทุกวันนี้เพราะไดโนเสาร์ ในขณะที่สภาพแวดล้อมของทวีปอเมริกาเหนือส่วนใหญ่ยังคงเป็นมิตรกับพวกไดโนเสาร์อยู่
เป็นไปได้ไหมที่มนุษย์กับไดโนเสาร์จะอยู่ร่วมโลกกัน?
อ้างอิงจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับผู้ล่าสมัยใหม่อย่างสิงโต, หมาป่า และหมี เป็นที่ชัดเจนว่าเราอยู่ร่วมกันยาก
ถ้าอุกกาบาตพุ่งชนโลกอีกครั้ง คุณจะทำอย่างไร?
หากวันนั้นมาถึงอีกครั้ง ดาวเคราะห์น้อยตกลงในทะเล น้ำทะเลเดือดเป็นไอ เพราะอุณหภูมิที่ถูกพุ่งชนเท่ากับอุณหภูมิพื้นผิวของดวงอาทิตย์
เกิดหลุมขนาดใหญ่บนพื้นมหาสมุทร คลื่นสึนามิขนาดยักษ์สูงเท่าตึกหลายสิบชั้นแผ่นดินไหวเป็นวงกว้าง ลาวาปะทุและเกิดฝนกรด
หากดาวเคราะห์น้อยตกลงสู่พื้นจะแผดเผ่าทุกอย่างไปจนถึงชั้นบรรยากาศของโลก แสงดวงอาทิตย์ที่เคยส่องมายังโลกถูบดบัง โลกตกอยู่ภายใต้ความมืดมิด หนาวเย็นเป็นเวลาหลายปี
“อุกกาบาต” ใช้เรียกวัตถุที่หลงเหลือจากการเผาไหม้ และผ่านเข้ามาในชั้นบรรยากาศโลกได้
“ดาวหาง” พวกมันเป็นก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่ เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ เมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์จะถูกลมสุริยะเป่าทำให้เกิดหางยาว
ดาวหางอาศัยเลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ไกลออกไปบริเวณหมู่เมฆออร์ทเป็นที่อยู่ของดาวห่างที่มีคาบการโคจรมากกว่า 200 ปี และอาจถึงหลายพันปี
ไม่น่าเชื่อวัตถุที่อยู่ไกลขนาดนั้นจะเข้ามาเฉียดวงโคจรของพวกได้ “ดาวเคราะห์น้อย” คือดาวฤกษ์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหลายสิบเมตรไปจนถึงขนาดใหญ่หลายร้อยกิโลเมตร
ดาวเคราะห์น้อยเปรียบเสมือนฟอสซิลของระบบสุริยะ พวกมันคือวัตถุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ได้ระหว่างการก่อกำเนิดระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์น้องส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในวงโคจรระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ซึ่งแน่ ๆ ดาวเคราะห์น้อยอาจจะมุ่งหน้าเข้ามาใกล้วงโคตรของโลก
หน่วยโทริโนใช้แจ้งเตือนภัยคุกคามจากดาวหาง
ระดับ 0 แสดงถึงความปลอดภัยสูงสุด
ระดับ 10 แสดงถึงความอันตรายมากที่สุด ชนแน่นอน
กว่าจะถึงอวสานของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่ามนุษย์จะเกิดขึ้นสักครั้งนึ่งก็อาจจะต้องใช้เวลาถึง 100,000 ปี
เรากำลังจับตามองดาวเคราะห์น้อยดวงนี้อยู่
ดาวเคราะห์น้อยอะโพฟิส (99942 Apophis) มีโอกาส2.7% ที่จะพุ่งชนโลกในปี ค.ศ. 2029
ความสว่างของดาวเคราะห์ดวงนี้ เราประมาณการได้ว่ามันมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 470 เมตร
แต่ทว่าดาวเคราะห์น้อยอะโพฟิสผ่านเข้าไปบริเวณ ออร์บิทอล คีย์โฮล (Orbital Keyhole) นั้นหมายความว่าจะถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดักจับไว้ แล้วจะกลับมาพุ่งชนโลดอีกครั้งในปี ค.ศ. 2036
เรากำลังอยู่ในจุดที่อันตรายที่สุด เวลาของโลกกำลังหมดลงทุกทีเพราะโรคระบาดที่เกิดจากไวรัสดัดแปลงพันธุกรรม , การพุ่งโจมตีของดาวเคราะห์น้อย และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
เรามีเวลาบนโลกนี้เพียง 100 ปี ทางรอดเดียวของมนุษยชาติคือการอพยพไปอยู่บนดาวดวงอื่น
บันทึก
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2025 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย