6 ม.ค. 2021 เวลา 02:35 • ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์และความเป็นมาของทุงไหหินในสปปลาวหรือสถานะรัฐประชาธิปไตยประชาขนลาว
ทุ่งไหหินคือภูมิประเทศทางโบราณคดีของชาวลาวซึ่งมีหินจะแจกกระจายไปทั่วที่ราบสูงของเชียงขวางแขวงเชียงขวางทางเหนือของประเทศลาว.และยังถือเป็นสถานที่มรดกโลกอีกด้วย.ซึ่งผ่านการรับรองของคณะกรรมการองค์กรการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งนานาชาติ UNESCO ยูเนสโกลงในเมื่อวันที่ 7 กรกฏคม 2562ที่ผ่านมา.
ทุ่งไหหินตั้งอยู่บริเวณเหนือสุดของเทือกเขาอันนันอันเป็นเทือกเขาหลักในอินโดจีนหรือสายภูหลวง.สำหรับไหหินมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางและความสูงประมาณ1.5 เมตร (m)มีน้ำหนัก 1ถึง7ตัน(T).ส่วนไหที่เล็กที่สุดจะมีน้ำหนักประมาณ 40- 50 กิโลกรัม(kg).หินดังกล่าวถูกสกัดมาจากหินแกรนิต(granite)
ทุ่งไหหินตั้งอยู่ที่เชียงขวางทางตอนเหนือของลาวเป็นที่ราบสูงมีหินใหญ่ลักษณะคล้ายไหตั้งอยู่ทั่วบริเวณ.มีอายุในยุคโลหะตอนปลายไม่น้อยกว่า 2500ปี.ซึ่งมีนักโบราณคดีค้นพบกระดูก. สันนิษฐานว่าเป็นกระดูกของคนโบราณในยุคนั้น.และยังสันนิษฐานว่าหินที่มีลักษณะเป็นไหนั้นเป็นเหมือนภาชนะบรรจุกระดูกเป็นพิธีศพของชาวลาวโบราณ.แต่ยังมีมุมมองของชาวบ้านในท้องถิ่นเขาได้สันนิษฐานและเชื่อกันว่ากุ้งให้เห็นแห่งนี้เคยมีตำนานที่ว่าด้วย ไหที่วางเรียงรายอยู่นี้ เป็นไหเหล้าของ "ขุนเจือง" วีรบุรุษแห่งสองฝั่งโขงเรื่องราวและตำนานของลาวได้เล่าสืบกันมาว่า.ครั้งหนึ่งมีการต่อสู้ของยักษ์ซึ่งอาศัยในดินแดนแห่งนี้ในตำนานท้องถิ่นบอกเล่าถึงกษัตริย์โบราณมีนามว่า" ขุนเจือง" ซึ่งเขาได้ปากปาล์มต่อสู้กับยักษ์อย่างยาวนานในที่สุดก็สามารถพิชิตศัตรูของเขาได้.ต่อมากษัตริย์ได้สั่งให้สร้างไหเพื่อทรงเหล้าลาวและเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะไหถูกหล่อเป็นแบบขึ้นมาโดยใช้วัสดุธรรมชาติ เช่น ดินเหนียว ทราย น้ำตาล และซากพืชซากสัตว์ในรูปแบบหินผสม เป็นต้น โดยสันนิษฐานว่าถ้ำที่ 1 ในบริเวณทุ่งไหหินคือเตาเผาและไหหินยักษ์ถูกเผาที่นี่ ซึ่งจริงๆแล้วอาจจะไม่ได้ทำมาจากหิน . ข้ออธิบายอื่นๆกล่าวไว้ว่าไหสร้างขึ้นเพื่อเก็บน้ำฝนในฤดูมรสุม โดยใช้สำหรับกองคาราวานซึ่งอาจไม่สามารถหาน้ำได้ระหว่างการเดินทาง.แต่ถึงอย่างไรก็ตามยังไม่ทันได้มีใครค้นพบว่าทุ่งไหหินนี้สร้างมาจากอะไรกันแน่.
วัฒนธรรมหินตั้งมีลักษณะแบบทุ่งไหหินมีอยู่ทั่วโลกแต่ทุ่งให้หญิงที่ประเทศลาวมีจำนวนมากและแบ่งเป็น 3 กลุ่มได้แก่
กลุ่มที่ 1 เป็นทุ่งไหหินที่ใหญ่และมีมากที่สุดอยู่ห่างจากเมืองโพนสวรรค์ ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 7.5 กิโลเมตร ไปทางเมืองคูน เมืองหลวงเก่า มีจำนวนหายประมาณ 200 ไห และมีขนาดใหญ่กว่าในกลุ่มอื่นๆ ถัดมาทางด้านซ้ายมือของทุ่งไหหินจะพบถ้ำแห่งหนึ่งซึ่งมีแสงแดดสาดส่องลงมาภายในถ้ำมีลักษณะเป็นป่องมีความยาวประมาณ 60 เมตร ลักษณะภายในถ้ำไม่ลึกมากสามารถบรรจุคนได้ 50 60 คน ถ้ำแห่งนี้เคยใช้เป็นที่หลบภัยสงครามของชาวเมืองเชียงขวางยามเมื่อเครื่องบินมาทิ้งระเบิดพร้อมกับใส่เป็นคลังเก็บอาวุธและเชื้อเพลิงเมื่อสงครามอินโดจีนที่ผ่านมาหลุม ตลอดจนร่องรอยที่ไหหินแตกกระจายอันเป็นผลมาจากฝูงเครื่องบิน 52 ของอเมริกา
กลุ่มที่ 2 อยู่ห่างจากเมืองไปทางใต้ 25 กิโลเมตร มีไหหินที่นี่เพียง 90 ไห
กลุ่มที่ 3 อยู่ห่างจากกลุ่มที่ 2 ไปทางใต้ 10 กิโลเมตร(35 กิโลเมตรจากเมืองโพนสวรรค์)กลุ่มนี้มีหินทั้งสิ้น 150 ไห
ขอบคุณทุกคนที่อ่านประวัติศาสตร์ของเรา .ถ้าใครสนใจก็อย่าลืมกดติดตามเพจของเราครับเพื่อที่จะไม่พลาดประวัติศาสตร์และตำนานของเรื่องเล่าสปปลาวหรือสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
โฆษณา