9 ม.ค. 2021 เวลา 08:07 • การศึกษา
การทำงานของหน่วยไต
✨𝕂𝕚𝕕𝕟𝕖𝕪 𝕠𝕣 𝕣𝕖𝕟𝕒𝕝✨
𝙺𝚒𝚍𝚗𝚎𝚢 มีนำ้หนักเพียง 1% 👥ของนำ้หนักตัว เเต่มีเลือด🩸เข้าไปถึงวันละ 20% ~วันละ 1800 L
>>>🗣𝙴𝚊𝚌𝚑 𝚘𝚏 𝚘𝚞𝚛 𝚔𝚒𝚍𝚗𝚎𝚢 𝚑𝚊𝚜 𝚊 𝚖𝚒𝚕𝚕𝚒𝚘𝚗 𝚗𝚎𝚙𝚑𝚛𝚘𝚗𝚜.
🌈เส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ💗ที่ใหญ่ที่สุดเรียกว่า aorta เเตกจาก aorta เรียกว่า artery artery ที่เข้าไปเลี้ยงไตเรียก renal artery ซึ่งเเตกเล็กลงเป็นเส้นเลือดเล็กๆ
การไหลของเส้นเลือดเเดง➰เส้นเลือดฝอย🥳✌️
Aorta>Artery>Arterioles>capillary
💗Afferent arteriole 💗นำเลือดเข้าไปที่เส้นเลือดฝอยใน Glomerulus ส่วนที่ผ่านการกรอง โมเลกุลเล็กก็จะออกจากหน่วยไตไปที่ท่อหน่วยไต ส่วนโมเลกุลใหญ่ ที่ไม่สามารถผ่านการกรอง ก็จะเดินทางกลับทาง Efferent arteriole
💫arteriole ที่นำเลือดเข้าหน่วยไต เรียก afferent arteriole
🌙arteriole ที่นำเลือดออก เรียก efferent arteriole
➰🟣𝙲𝙰𝙿𝙸𝙻𝙻𝙰𝚁𝚈🔵➰
-continuous capillary
-fenestrated capillary
-sinusoid
🟣ℂ𝕠𝕟𝕥𝕚𝕟𝕦𝕠𝕦𝕤 𝕔𝕒𝕡𝕚𝕝𝕝𝕒𝕣𝕪
เส้นเลือดฝอยที่พบมากสุดในร่างกายอยู่ตามเนื้อเยื่อต่างๆ มีฐานเรียก basement membrane มีเซลล์เเบนๆต่อเนื่องกัน เรียก simple sqamous epithelial cell
ยอมให้สารผ่านน้อยมาก
🔵𝔽𝕖𝕟𝕖𝕤𝕥𝕣𝕒𝕥𝕖𝕕 𝕔𝕒𝕡𝕚𝕝𝕝𝕒𝕣𝕪
อยู่ที่ท่อไต ระหว่าง continuous capillary and sinosoid ไม่มีรูพรุนให้เม็ดเลือดเเดงออกได้เหมือน sinusoid ไม่เเนบชิดสนิท เหมือน continuous capillary เเต่พอให้สารโมเลกุลเล็กๆ ออกได้ปริมาณพอสมควร
📢1.พบที่โพรงสมอง -choroid plexus เป็นที่ที่เลือดผ่านการกรองออกมากลายเป็น cerebrospinal fluid (CSF) นำ้หล่อเลี้ยงสมองเเละไขสันหลัง
2.หน่วยไตจะมีเส้นเลือดฝอยนี้ บริเวณ glomerulus จะมีรูพรุน ทำหน้าที่ในการกรอง
🟢𝕊𝕚𝕟𝕦𝕤𝕠𝕚𝕕
มีช่องว่าง เเละ มี basement membrane มี inter cellular cleft แบนๆ เเละ มีช่องว่าง ระหว่าง เซลล์ เม็ดเลือดเเดงสามารถเดินทางออกไปรอบๆได้ หน้าที่หลักคือ รับ โปรตีน โมเลกุลใหญ่ที่ตับสร้าง หรือ เอา เซลล์เม็ดเลือดเเดงของตับเเละม้าม เดินทางเข้า
พบที่ตับ ม้าม ไขกระดูกเเละสารสามารถผ่านได้
โฆษณา