คำถาม แล้ว ผู้ พัฒนา Joomla ได้อะไร?
เขาได้จากบริการ ที่อยู่ในการใช้งาน เช่น การบริการติดตั้ง การสอน เอกสารสิ่งพิมพ์ หรือ อบรมสัมมนา ร่วมถึงการบริจาค เพื่อการพัฒนาโปรแกรม ตามเงื่อนข้อตกลง..และส่วนเสริมการใช่เพิ่มเติมจากตัวโปรแกรมหลัก..ที่เรียกว่า extension หรือ plugin รวมถึง template เราจะเห็นว่า โปรแกรมประเภทนี้มักจะมี template หรือ theme ที่แตกต่างกันหลายรูปแบบเข่น เป็น เว็บขายของ เว็บข่าว เว็ปกีฬา เว็บส่วนตัว และอื่นขึ้นอยู่กับเรา นำตัวเสริมเหล่านั่นมาใช้...
คำถามต่อไป เราจะเอาส่วนเสริมนั่นมาจากไหน....คำตอบคือ นักพัฒนาทั่วโลกครับ
ตรงนี้แหละครับที่ทำให้ เป็นธุรกิจได้เลย เพราะผู้พัฒนาตัวเสริมนั่น เขาขายโปรแกรมและบริการ ที่เขาเขียนขึ้น โดยผู้ใช้ไม่ต้องมีความรู้ในการเขียนโปรแกรมเลย..
ผมอธิบายมาถึงตรงนี้ หลายๆท่านคงจะตั้งคำถามแล้วมันเกี่ยวอะไรกับการใช้งาน เราเป็นผู้ใช้..เท่านั้น..ครับ ถูกต้องจะสื่อให้เห็นว่า
Joomla หรือcms ไม่ใช่ เว็ปไซต์สำเร็จรูปอย่างที่หลายคนเข้าใจ..เพราะว่า มันยืดหยุ่น ถอน(ตัวเสริม)เข้า_ออกได้..มันจะเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของผู้ใช้
ดังนั้น ก่อนใช้ จุมล่า ต้องตั้งขอบเขต ก่อนว่าจะทำเป็น เว๊บอะไร ให้บริการอะไร จะขายสินค้าออนไลน์ หรือ เวีบสำนักงาน เว๊บข่าวสาร..จะทำให้เรา มีเป้าชัดเจนและบริหารรูปแบบของเว็บไซต์ได้ง่าย เพื่อสะดวกในการเลือกตัวเสริมและเครื่องมือที่สอดคล้องกัน..
บางคน ใส่ ตัวเสริมมาเละเทะ ไปหมด จนเว็บพัง จะมาบอกว่า cms พวกนี้ ไม่ เวิร์ค คุณเข้าใจผิด..
มาถึงตรงนี้ ทุกท่านพอเข้าใจแล้วใข่มัยครับ?
คราวหน้าผมจะมาเริ่มอธิบายการติดตั้ง และการใช้งานเบื้องต้นแบบพื้นฐานกัน ช่วยติดตามกันด้วยนะครับ
#joomla-IN
#เรียนjoomlaกับโรจจอม