ที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่โตส่วนหนึ่ง บริษัทพอใหญ่ขึ้นก็เปลี่ยนเป็น conglomerate
จากผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า ก็ไปทำหนัง,เกม,ทีวี,ทำจอภาพ, sensor
พอตัวใหญ่เค้าก็พยายามทำให้กำไรให้ stable จึงทำให้ growth เลยไม่สูง
พอมี digital transformation ขึ้นมาก็มีโอกาสที่
ทำให้บริษัทเล็กๆในญี่ปุ่นมีโอกาสช่องว่างตรงนี้
Covid ไม่ใช่เร่งการเปลี่ยนแปลง แต่อยู่ไม่ได้ถ้าไม่เปลี่ยน
อย่าง telehealth ก่อน covid ต่อให้อยากทำก็ทำไม่ได้
เพราะกฏหมายเขียนให้ผู้ป่วยต้องเจอแพทย์ตัวเป็นๆ
แต่พอมี covid รุนแรง มี.ค. ผ่านไปเดือน พ.ค. รัฐก็แก้ไขให้
ทำ telehealth ได้เหมือนพบแพทย์ตัวจริง
เปรียบเหมือนได้รับการเป่านักหวีดออกจากจุด start
ซึ่งบริษัทใหญ่ก็ไม่เคยเตรียมไว้ก่อนว่าจะทำได้
ตลาดหุ้นญี่ปุ่นที่มองไม่ไปไหนมานาน ทำให้ถูกมองว่าน่าสนใจน้อยลง
สังเกตว่ากองทุนหุ้นตลาดหุ้นเอเชียจะมีคำว่า ex japan
เพราะคนมองว่าจะได้เห็นภาพที่ขึ้นไปได้ ไม่ได้โดยไม่ถูกถ่วง
(ภาครัฐ) ญี่ปุ่นน่าจะเป็นประเทศเดียวที่รัฐทุ่มซื้อ etf ของหุ้นญี่ปุ่น
ตลาดหุ้นญี่ปุ่นก็ค่อยๆปรับตัวขึ้นมาเหมือนม้านอกสายตา ทำให้ตลาดมีความหวังขึ้น
(ภาคเอกชน )ในญี่ปุ่น บริษัทประกันมีเงินเยอะมากไม่มีทางไปก็ซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ที่ผ่านมามีความพยายามทำให้ดอกเบี้ยลดลงจนติดลบ จะได้เอาเงินไปซื้ออย่างอื่น
ทำให้ตอนนี้ก็มีทางทำให้เงินที่ล้นตลาดพันธบัตร ก็เริ่มกลับมาในตลาดญี่ปุ่น
(ภาคประชาชน) นอกจากนี้รัฐก็ออกกฏกระทรวงให้ ม.ปลาย
นักเรียนญี่ปุ่นได้เรียนเรื่องการลงทุนด้วย
คิดว่าตลาดหุ้นญี่ปุ่นที่ถูกเมินมานาน ถ้ามาเจอ 3 เรื่องด้วยกัน
ก็น่าจะพาตลาดหุ้นญี่ปุ่นให้ outperform ได้
ยกตัวอย่างหุ้น telehealth เช่น M3 Inc:2413 ไม่ได้ทำ telehealth เป็นหลัก
แต่ทำเครื่องมือแพทย์มาก่อนอยู่แล้ว
ตัวเล็กๆ มีอีกหลายตัว เช่น Medley:4480 , CareNet:2150