Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
BETTERCM
•
ติดตาม
18 เม.ย. 2021 เวลา 12:44 • สุขภาพ
Q > ตอนนี้ภรรยาให้นมลูกอยู่ อยากทราบว่าสามารถใช้ยาแก้ท้องเสียอย่าง norfloxacin หรือพวกตัวยาที่คล้ายๆกันในกลุ่มนี้ได้รึเปล่าครับ
http://drug.pharmacy.psu.ac.th/webboard/wball.php?idqa=63
Q> ทำไมถึงไม่แนะนำให้กินยา Norfloxacin หรือยาในกลุ่ม Fluoroquinolones ร่วมกับนม แคลเซียม ธาตุเหล็ก หรือยาลดกรด
https://livewithdrug.com/2017/07/05/why-some-medicines-should-not-take-with-milk-calcium-or-antacid-gel/
Q : ปกติถ้า Quinolone คู่กับ cation เห็นส่วนมากฉลากกำกับยาแนะนำ ทานยาก่อน cation 2 ชม. แต่ถ้าหลังมักจะแนะนำ 4-6 ชม. ไม่ใช่หรือครับ?
A : ยาบางตัวใน FQs เช่น ciprofloxacin แม้ให้หลังพวก cation 2 ชม. ไปแล้วพวก AUC หรือ bioavailability ของยาก็ยังลดลง ดังนั้นในเอกสารของ ciprofloxacin กับ calcium จึงให้ทานห่างกันก่อน 2 ชม. หรือหลัง 6 ชม. แต่ในส่วนของ levofloxacin กับ calcium แนะนำให้ห่างกันก่อน 2 ชม. หรือหลัง 2 ชม.
https://www.facebook.com/359406231425709/posts/1011786969520962/
Q : มีบริษัทผู้ผลิต chelated zinc ได้ claimed ว่าไม่รบกวนการดูดซึมของยากลุ่ม Quinolones ไม่ทราบว่ามีข้อมูลแนะนำประเด็นนี้อย่างไรหรือไม่ครับ?
A : เท่าที่หาข้อมูล ยังไม่เจอข้อมูลด้าน PK study ระหว่าง chelated zinc กับยา FQs ค่ะ แต่จากข้อมูลของ zinc ที่อยู่ใน multivitamin พบว่าก็ลดระดับยา ciprofloxacin ได้ (BA ciprofloxacin ลดลง 24%) แต่ก็ไม่ได้ลดมากเท่ากับการให้ ciprofloxacin ร่วมกับ ferrous (BA ciprofloxacin ลดลง 64%) (ref Antimicrob Agents Chemother 1989;33(11):1841-4)
และจากการที่ chelated zinc เป็น zinc ที่นำไปผ่านขบวนการทางเคมีทำให้จับกับโมเลกุลของสารอินทรีย์ เช่น กรดอะมิโน น่าจะทำให้การไปจับกับพวกยา FQs ได้น้อยลง
https://www.facebook.com/359406231425709/posts/997271110972548/
🗣️ผู้ป่วยเพศหญิง อยู่ในช่วงให้นมบุตร ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ๐
จะใช้ยาในกลุ่มควิโนโลนได้หรือไม่
🏵️จากข้อมูลจาก Medsafe ( New Zealand Medicines and Medical Devices Safety Authority)
แนะนำให้หลีกเลี่ยงยากลุ่ม quinolone ในหญิงที่ให้นมบุตร เนื่องจากพบรายงานทำให้เกิด Arthropathies(โรคของข้อต่อ) ในสัตว์
หากจะรักษากระเพาะปัสสาวะอักเสบ ตามแนวทางการรักษาของ IDSA(Infectious Diseases Society of America) และ European Association of Urology ยาที่สามารถใช้ในหญิงที่ให้นมบุตร จะสามารถใช้
- Bactrim (Trimethoprim/Sulfamethoxazole) 160/800 mg วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน สำหรับการรักษา acute uncomplicate cystitis
- Bactrim (Trimethoprim/Sulfamethoxazole) 160/800 mg วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 14 วัน สำหรับการรักษา acute uncomplicate pyelonephritis
- Amoxycillin-Clavulanic acid 875/125 mg วันละ 2 ครั้ง หรือ 500/125 วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 3-7 วัน สำหรับการรักษา acute uncomplicate cystitis
- Amoxycillin-Clavulanic acid 875/125 mg วันละ 2 ครั้ง หรือ 500/125 วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 14 วัน สำหรับการรักษา acute uncomplicate pyelonephritis
http://prachanath.su.ac.th/DIS/bkk_tnk/answerq/ansform.php?Q_id=109
POSTED 2021.04.18
UPDATED 2022.05.22
บันทึก
2
2
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย