28 เม.ย. 2021 เวลา 02:16 • สุขภาพ
ประเด็น Covid 19 (โดยสรุป)
[ Sit -to -stand Test For Exercise Induced Desaturation in Covid 19-Patient] มีความสัมพันธ์กับ Six-Minute Walk test ใน COPD เลยเอาประยุกต์ใช้
I/C
- Screening [ ในรพ.หลัก] ที่ยังไม่มี Resting Hypoxemia ( SpO2< 96%) --> Tx w/ Steroid
- Screening [ ในโรงพยาบาลสนาม/รพ.เฉพาะกิจ] ที่ไม่พบ Covid-19 Pneumonia ในตอนเเรก ---> เเต่มีเกิด Pneumonia ขึ้นในระหว่าง 14 วัน ---> ส่ง Evaluate by CXR
C/I
- V/S unstable ( BT > 38.5 , RR>22 , SBP > 160 หรือ <100 , HR >120 หรือ < 50)
- ทรงตัวไม่ได้ขณะลุกนั่ง
อุปกรณ์
1.เก้าอี้ มีพนักพิง ไม่มีที่เท้าแขน สูงจากที่นั่งถึงพื้นประมาณ 50 cm
2.pulse oximeter
!! ติด Pulse Oximetry ตลอดการทดสอบ + ถอด Mask
นั่ง [ต้องนั่งเต็มก้น] - ลุก จากเก้าอี้โดยไม่ใช้ มือเท้า ทำให้เร็วที่สุดภายใน 1 นาที ( Normal : 20-30 ครั้ง)
I) ก่อนครบ 1 นาที >> ถ้า Pt เหนื่อย / HR> 120 หรือ SpO2 drop > 3 ขึ้นไป ต้้องวัด 2-3 ครั้ง ( ปกติเครื่องวัด q 3 วินาที) ----> เพื่อ Confirm ว่าเป็นค่าต่ำจริงๆ
II) หลังครับ 1 นาที ---> วัด SpO2 ต่ออีก 1 นาที
ถ้า Desaturation > Positive -- CXR ต่อ หรือ มี Role ในการให้ Steroid
ถ้า ไม่พบ Desaturation > Negative
[ Covid -19 Pneumonia] - 50-90%
CXR- Opacities + Clinical Pneumonia - 30-50%+
ขึ้นกับระยะเวลาที่พบเเพทย์หลังได้รับเชื้อ หรือ เริ่มมี Symptom , ประสบการณ์ในการอ่าน Film
Clinical มี 2 เเบบ
1.Early Pneumonia
- Direct Lung Injury พบใน 5 วันหลังได้รับเชื่อ หรือ เริ่มมีอาการ
- Clnical ไม่ต่างจาก CAP หรือ Influenza Pneumonia
- CXR ที่พบบ่อย Peripheral Opacities/ Consolidation at Lower- Middle Lung Zone
2. Late Pneumonia --> เป็นผลจาก Local & Systemic Inflammatory Syndrome ( Stimulate by Pathogen)
- พบในช่วงหลัง 6-10 วัน โดยได้รับหรือไม่ได้รับการ Dx Early Pneumonia มาก่อน
- CXR : Diffuse Multifocal Opacities/ Consolidation ที่ลุกลามจาก Focal Opcaities ที่มีเล็กน้อยเดิม
[Treatment Covid-19 ]
- มี Clinical or Risk Factor ( Age > 60, BMI > 30, Uncontrol DM, COPD, CHF, CKD stage > 3B, Medical Condition อื่นๆ ที่ คุมไม่ค่อยดี
- If Clinical / Risk Factor --> Rx w/ Favipiravir
--> ตามน้ำหนักตัวตามคำเเนะนำของกรมการเเพทย์
Duration
--> 5 days If ตอบสนองดี เเละ ไม่มี Risk Factor
--> 10 days If ตอบสนองช้า หรือ มี Risk Factor
--> Critical on Ventilator : Duration 15 day
[ Flavipiravir] - Ref : Guideline Covid 19 update 17 เม.ย. 64
- Recommend Flavipiravir ในกรณีต่อไปนี้
1. Symptomatic Covid -19 with risk factor for servere disease หรือ Mild Pneumonia
[ Risk Factor] : Age > 60 ปี , COPD, CAD , Stroke, Poor-Controlled DM, Obesity (BW > 90 kg) , Immuno deficiency + Lymphocyte < 1,000 cell/mm3
- Duration 5-10 วัน
2. Pneumonia with Hypoxia - ( Resting SpO2 <= 96%) หรือ SpO2 drop >=3% จาก Exercise Induced Hypoxemia หรือ Film มี Progression
- Duration 5-10 วัน +/- Lopinavir/Ritonavir + Steroid
[ Dose] Flavipiravir 200 mg
=== BW < 90 =====
-วันเเรก (200) 9 x 2 po pc
-วันถัดไป (200) 4x2 po pc
==== BW > 90 =====
- วันเเรก (200) 12 x2 po pc
- วันถัดไป (200) 5 x2 po pc
Note : สามารถ เเบ่งยาหรือให้ยาทาง NG tube ได้
!! ระวังถ้าต้องให้ในคนท้อง มีโอกาสเกิด Teratogenic Effect
!! เพิ่มระดับ Uric Acid - ระวังเมื่อให้คู่ Pyrazinamide
!! ระวัง Hypoglycemia ถ้าให้ร่วมกับ กลุ่ม Glinide หรือ Glitazone
!! CKD ไม่ต้องปรับ Dose
!! กลุ่มที่เป็น Liver disease - วันเเรก เริ่ม (200) 4x2 po pc , วันถัดไป (200) 2x2 po pc
1
Adjunct Steroid
[ Oral Form]
- Dexamethasone 4 mg 1 x 2 po
- Prednisolone 20 mg 1x2 po
!! ถ้าน้ำหนักเกิน 90 kg --> เปลี่ยนเป็น 1x3 po
I/C 1. Resting SpO2 RA < 96%
2. Resting SpO2 RA >= 96% เเต่ drop >= 3% จากการทำ Sit-to Stand test
3. BT > 38.5 ติดต่อกัน > 48 ชม. หรือ Film Progress หรือ CRP >15 mg/L
[ IV form ] - ใช้ใน Case BT สูง, ต้องการได้ high O2 Therapy , Poor Intake
- Dexamethasone 5 mg q 8 hr
- Case Early Pneumonia + ได้ Steroid มาก่อนเเล้ว --> เกิดเป็น Late Pneumonia = Rx : Dexamethasone 5 mg q 6 hr
Duration ให้ตาม Flavipiravir หรือนานกว่า "ถ้า ไข้ลงช้า < 72 hr + ไม่สามารถ Wean O2 ได้"
[ Isolation Precaution]
- Non-severe : 14 days
- Severe Case : 21 days
[ O2 therapy]
i : O2 Cannular 1-5 L/min keep SpO2 92-95%
--- ถ้า ไม่สามารถ Keep SpO2 ได้ หรือ RR>30 เมื่อได้ Flow 5 L/min-----
ii: On HFNC - setting FiO2 0.5 , Flow 50 L/min Keep SpO2 92-95%
[ US-CDC ไม่ถือว่า HFNC เป็น Aerosal Generating Procedure - ใช้นอก Isolation Room ได้]
- โดยผู้ดูเเลคนไข้ ใส่ Air borne Preacaution
- Pt : Surgical Mask ปิดทับปาก เเละ จมูก ขณะใช้ HFNC
- ถ้า Pt ทนได้ --> Awake Prone position เพื่อ เพิ่ม Oxygenation
คอย Follow ค่า ROX Index -- Cut Point ที่ 5
ถ้า < 5 : เตรียม Invasive หรือ Non-Invasive Mech Ventilation
Note : Rox index เป็น indicator ที่ช่วยทำนาย ความล้มเหลวหลัง on HFNC --> ช่วยในการพิจารณาใส่ ET tube ได้เร็วขึ้น
อ่าน เรื่อง Rox Index เพิ่มได้ที่ [ Status อายุรศาสตร์ ง่ายนืดเดียวครับ] https://www.facebook.com/medicine4layman/posts/2794582184191130/
[ Clinical ที่น่าสนใจใน COVID รอบ 3]
- Happy Pnemonia พบได้ โดย ไข้ +/- ไม่ไอ ไม่เหนื่อย ไม่มี resting / Exercise induced desaturation เเต่ " Externsive Opacities" ( Film ดูเปรอะ)
- Happy Hypoxemia พบได้ --> Resting Desat เเต่ไม่เหนื่อย RR< 22
- Sinus Bradycardia พบได้ เกือบ 50%
[ เมื่อเปรียบเทียบกับ Guideline Covid 19 ที่ update เมื่อ 17 เม.ย. 64 ]
- มีการกล่าวถึง " Exercise Induced Hypoxia ด้วยเช่นกัน
- โดยการให้ทำการปั่นจักรยานอากาศ หรือ เดินไป-มาข้างเดียง 3 นาที
วัด SpO2 ก่อนเเละหลังทำ --> ถ้า Drop > 3% --> ผล Positive
[ ประเด็นของ Dexamethasone จาก Guideline] - เมื่อเทียบเเล้ว Dose ที่ได้จาก Guideline ต่ำกว่า เเต่คิดว่า ก่อนให้ต้อง Consult Staff ก่อน
[ Dose : Dexamethasone 6 mg/day / Hydrocortisone 160 mg/day/Prednisolone 40 mg/day]
ประเด็นสำคัญ - สำหรับเราคนที่ต้องดูเคส
ใน Case DM - เฝ้ากระดานน้ำตาลดีๆ + วาง RI ให้เหมาะสม
Ref :
คำเเนะนำการรักษา Covid-19 Pneumonia โดย อ.นิธิพัฒน์ เจียรกุล
Thai guildline - Covid 19 Update 17 เม.ย. 64
[ ข้อมูลมีความ Dynamic สูง - อาจจะต้อง Update ข้อมูลบ่อยหน่อยนะครับ]
ขอขอบคุณ จารย์ว่าที่ Staff Pepo Pavarist ผู้ Proof Read คับ ^/\^
โฆษณา