14 มิ.ย. 2021 เวลา 04:42 • ประวัติศาสตร์
ทัชมาฮาล หรือ ตาชมหัล (Taj Mahal; /ˌtɑːdʒ məˈhɑːl, ˌtɑːʒ-/;[4] แปลว่า มงกุฏของวัง, [taːdʒ ˈmɛːɦ(ə)l])[5] เป็นอาคารฝังศพสร้างด้วยหินอ่อนสีขาวงาช้าง ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำทางใต้ของแม่น้ำยมุนา ในเมืองอัคระ รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ทัชมาฮาลเริ่มสร้างขึ้นในปี 1632 โดยจักรพรรดิโมกุล จักรพรรดิชาห์ชะฮัน (ครองราชย์ 1628 ถึง 1658) เพื่อตั้งศพของพระสนมเอก มุมตาช มหัล และเป็นที่ตั้งพระศพของจักรพรรดิชาห์ชะฮันเอง ทัชมาฮาลประกอบด้วยตัวอาคารสุสาน, มัสยิด และเกสต์เฮาส์ รายล้อมด้วยสวน การก่อสร้างทัชมาฮาลสำเร็จสมบูรณ์ในปี 1643 แต่มีการก่อสร้างในเฟสอื่น ๆ ชองโครงการที่ดำเนินต่อไปอีกกว่า 10 ปี
ทัชมาฮาล
Taj Mahal (Edited).jpeg
ที่ตั้ง
อัคระ, รัฐอุตตรประเทศ, ประเทศอินเดีย
พิกัด
27°10′30″N 78°02′31″E / 27.17500°N 78.04194°E
พื้นที่
17 เฮกตาร์[1]
ความสูง
73 m (240 ft)
สร้าง
1632–53[2]
สร้างเพื่อ
พระนางมุมตาซ มหัล
สถาปนิก
อูสตัด อะห์เมด ละเฮารี
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมโมกุล
ผู้เชี่ยมชม
7–8 ล้าน[3] (ในปี 2014)
ส่วนการปกครอง
รัฐบาลอินเดีย
ทัชมาฮาล
โฆษณา