๑. การบ่งชี้ หรือค้นหาความรู้
ทำการค้นหาความรู้หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำพื้นด้วยกาวเม็ดมะขาม
๒. การสร้างและแสวงหาความรู้
ผู้จัดทำได้ทำการวบรวมหนังสือ และข้อมูลจากทางอินเตอร์เน็ต ดังนี้
วรรณิภา ณ สงขลา. (2528). การอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนัง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 104-116.
สมชาติ มณีโชติ. (2529). จิตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 22-26,33.
อภัย นาคคง.(2543).ศิลปะไทยเอกสารประกอบการสอนวิชาศิลปะประจำชาติวิทยาลัยเพาะช่าง.กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเพาะช่าง, 27-30
สมปอง อัครวงษ์. (2550). จิตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ : คณะศิษย์เก่าแผนกวิชาจิตรกรรมไทย คณะศิลปะ
ประจำชาติ โรงเรียนเพาะช่าง,130-134
สายไหม จบกลศึก ธงชัย รักปทุม และคณะ (เรียบเรียง).(2548). จิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรัตนสถาน ตามแนวพระราชดำริ.กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 159-163
๓. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
ผู้จัดทำได้มีการรวบรวม เรียบเรียงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำพื้นด้วยกาวมะขามจากหนังสือ และข้อมูลสื่อออนไลน์ เรียบเรียงให้เป็นระบบเพื่อให้ได้เป็นองค์ความรู้
๔. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
จากการที่ได้รวบรวมข้อมูลเป็นองค์ความรู้ได้ในข้างต้นแล้วนั้น ผู้จัดทำได้ประมวลและกลั่นกรองเพื่อเป็นแนวทางในการทำพื้นด้วยกาวเม็ดมะขามได้ ดังนี้