4 ส.ค. 2021 เวลา 12:30 • ครอบครัว & เด็ก
📌เพราะร่างกายของเราผลิตแคลเซียมเองไม่ได้
ต้องได้จากการรับประทานอาหารเท่านั้น
🔶เราจึงต้องรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมให้เพียงพอ‼
🔶ควบคู่กับทานสารอาหาร ที่ช่วยเรื่องการดูดซึมแคลเซียมด้วย เช่น
👉🏻วิตามินD3,C,E และโปรตีน
📌ดูดซึมแคลเซียมได้มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยค่ะ เช่น
✅อายุ
✅ความเป็นกรด-ด่างในทางเดินอาหาร
✅ระดับฮอร์โมนต่างๆมีส่วนในการควบคุมการดูดซึมแคลเซียม เช่น GH , Calcitonin, parathyroid
💢แล้วปัจจัยเหล่านี้มีผลกับการดูดซึมแคลเซียมอย่างไร ติดตามได้ในเพจ #เด็กไทยโตไปต้องสูง และฝากติดตามผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพิ่มความสูงได้เร็วๆนี้ค่ะ 👩🏻‍⚕️💢
Reference
- Committee to Review Dietary Reference Intakes for Vitamin D and Calcium, Food and Nutrition Board, Institute of Medicine. Dietary Reference Intakes for Calcium and Vitamin D. Washington, DC: National Academy Press, 2010.
- National Institutes of Health. Optimal calcium intake. NIH Consensus Statement: 1994;12:1-31.
- Sellmeyer DE, Schloetter M, Sebastian A. Potassium citrate prevents increased urine calcium excretion and bone resorption induced by a high sodium chloride diet. Journal of Clinical Endocrinology and Metabolism. 2002;87(5):2008–12.
- Holick MF. Vitamin D deficiency. N Engl J Med. 2007;357:266–281
- Naina Mohamed, Isa et al. “Vitamin e and bone structural changes: an evidence-based review.” Evidence-based complementary and alternative medicine : eCAM vol. 2012 (2012): 250584.
โฆษณา