27 ก.ย. 2021 เวลา 15:55
27/09/64 Day 97
ให้นิสิตอ่านบทความวิจัย
ขอบคุณบทความดีๆจาก :https://drive.google.com/file/d/1oGil2JlyxIIVB8KSr3DH1WJeCdRXFLVt/view?usp=sharing แล้วเขียนบทคัดย่อ (ไทย)
บทคัดย่อ:เรื่อง ประสิทธิภาพของตัวดูดซับจากเปลือกมันสำปะหลังในการปรับปรุงคุณภาพของน้ำมันพืชใช้แล้ว
จากการวิจัยเกี่ยวกับเรื่อง ประสิทธิภาพของตัวดูดซับเปลือมันสำปะหลังในการปรับปรุงคุณภาพของน้ำมันพืชใช้แล้ว ในปัจจุบัน มีขยะที่เกิดจากปัญหาน้ำเน่าเสีย ทำให้ส่งกลิ่นเหม็นเน่า เกิดการอุดตันของท่อระบายน้ำโยมีการแก้ปัญหามาผลิตไบโอดีเซล แต่ทำให้เกิดสารปนเปื้อนมาก เช่น กรดไขมัน จึงทำให้มีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงโดยมีวิธีที่สามารถปรับปรุงคุณภาพ และยืดอายุการใช้งานของน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว และลดปริมาณน้ำมันพืชที่ใช้แล้วทิ้งสู่ธรรมชาติ เพื่อทำให้สุขภาพของประชาชนดีขึ้น และยังช่วยลดตเนทุนของผู้ประกอบการอาหาร
มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยคือ
1. เพื่อพัฒนาต้นแบบตัวดูดซับจากเปลือกมันสําปะหลังเหลือทิ้ง
2. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของต้นแบบตัวดูดซับในการปรับปรุงคุณภาพของน้ํามันพืชใช้แล้ว
ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ทําการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิของต้นแบบตัวดูดซับในการปรับปรุงคุณภาพของ น้ํามันพืชใช้แล้ว ได้แก่ ปัจจัยด้านกรรมวิธีการผลิตตัวดูดซับ และปัจจัยทางด้านเวลา
มีวิธีการดำเนินการ
1.ตัวอย่างเปลือมันสำปะหลังน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว
2.การผลิตตัวดูดซับจากเปลือกมันสำปะหลัง
3.การทดสอบประสิทธิภาพของต้นแบบตัวดูดซับในการปรับปรุงคุณภาพของน้ำมันพืชใช้แล้ว
4.การวัดปริมาณสารประกอบโพลาร์ในน้ำมัน
5.การวัดปริมาณสาร conjugated diene (CD)
6.การวัดปริมาณ FFA
ผลการวิจัย
1. ปริมาณสารประกอบโพลาร์ในน้ํามันพืชที่ผ่านการดูดซับ
2.ปริมาณ conjugated diene (CD) ในน้ํามันพืชที่ผ่านการดูดซับ
3. ปริมาณกรดไขมันอิสระ(FFA)ในน้ํามันพืชที่ผ่านการดูดซับ
อภิปรายผลการวิจัย
ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยพบว่า เมื่อนําน้ํามันพืชใช้แล้วไปผ่านกระบวนการดูดซับด้วยตัวดูดซับ A1 และ A3 ไม่สามารถลดปริมาณสาร CD ในน้ํามันพืชใช้แล้วได้ เนื่องจากปริมาณสาร CD ในน้ํามันพืชก่อนผ่าน กระบวนการดูดซับ (UO) และหลังผ่านกระบวนการดูดซับด้วยตัวดูดซับ A1 A3 และ activated carbon (AC) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสําคัญทางสถิติเมื่อทดสอบด้วย t-test ซึ่งในอนาคตอาจจะมีการปรับ
25 min
โฆษณา