3 ธ.ค. 2021 เวลา 03:43 • สุขภาพ
📍แนะนำการดูแลแผลเป็น ep. 2 การดูแลแผลหลังจากการผ่าตัดบริเวณหน้าอก Thoracic surgery ซึ่งมักจะเป็นแผลบริเวณกลางหน้าอกบนกระดูกสันอก Sternum
✅ซึ่งเป็นบริเวณที่มีโอกาสเกิดแผลเป็นนูนและคีลอยด์ได้ง่ายเนื่องจากมีการดึงรั้งของแผลในระหว่างการขยับของช่วงอกในการหายใจ*
✅พบมากใน ผิวเข้ม เพศหญิง ตำแหน่งส่วนล่างเนื่องจากจะมีการดึงรั้งของแผลผ่าตัด
🔬การดูแล
silicone gel และ silicone sheath การศึกษาการใช้แผ่นซิลิโคนหรือซิลิโคนเจลที่มีสารประกอบต่างๆเช่น pracaxil oil, 10% onion extract, 50 u sodium heparin, 1% allantoin
โดยเริ่มโดยเริ่มหลังจากการผ่าตัด 7 วัน ทาเช้าเย็นเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 12 สัปดาห์ขึ้นไปพบว่าช่วยเรื่องสีความแข็งความหนาและความไม่สอนเสมอของแผลได้
ช่วยป้องกันการเกิดแผลเป็นนูนคีลอยด์
2.การฉีดยาสเตียรอยด์
3.การผ่าตัดแก้ไขแผลเป็น Surgical Scar revision
การใช้การใช้เลเซอร์ เช่น pulsed dye laser (Vbeam), Fractional Ablative Lasee, Picosecond Laser
👨‍⚕️ตัวอย่างการดูแลรักษาแผลผ่าตัดนูน Hypertrophic Scar บริเวณกลางหน้าอก
โดยหมอเลือกใช้เทคนิค ใช้เลเซอร์ Picosecond Laser + Gold Toning + Fractional Laser ร่วมกับการใช้ Steroid dripping and occlusion https://bit.ly/3EjV3tW
💉นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการฉีดสารซึ่งช่วยลดแรงตึงตัวของแผลเป็นนูนคีลอยด์และช่วยลดการทำงานของเซลล์ fibroblast เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่มีการดึงรั้งสูง https://youtu.be/cZJAIAzY3Nk
*Ann R Coll Surg Engl. 1985 Jul; 67(4): 238–240.
#หมอรุจชวนคุย 👨‍⚕️🔬😉
#รักษาแผลเป็น #แผลผ่าตัด #แผลเป็นนูน #แผลผ่าตัดกลางหน้าอก #แผลเป็น #คีลอยด์ #picosecondlaser #keloidtreatment #fractionallaser #Vbeam #hypertrophicScar #scartreatment
โฆษณา