3 ม.ค. 2022 เวลา 04:48 • คริปโทเคอร์เรนซี
การประเมินมูลค่า Bitcoin
By Ark Invest Team
Ark Invest Team ได้ออก White Paper เพื่ออธิบายการประเมินมูลค่า Bitcoin โดยใช้ทฤษฏี
3 Layer Pyramid Analysis
Introduction
Bitcion เป็นสินทรัพย์ที่เกิดขึ้นใหม่ และยังไม่มีทฤษฏีทางการเงินแบบเดิมที่เราใช้อยู่สามารถอธิบายการประเมินมูลค่าของมันได้อย่างแม่นยำ ทีม Ark Invest จึงทำการศึกษาและได้ออกแบบวิธีการใหม่ที่เชื่อว่าสามารถอธิบายที่มาของมูลค่า Bitcoin ได้
โดยใช้การพิจารณาแบบ 3 Layer Pyramid
Layer 1 : Network Health
Network Health is about
“ network security, monetary integrity, transparency, and usage. Accessed by any blockchain “search-engine,”
the data in this layer is raw and straight-forward, requiring little to no manipulation. Relevant to all market observers, it offers a basic “fact sheet” about the network.
Layer 2 : delves deeper by wallet address
In the long-term, bitcoin’s price might react more to the raw health of the network as measured in layer 1
Layer 3 : Data leverages off the two lower layers, providing relative valuation metrics that identify short- to mid-term inefficiencies in bitcoin’s price.
Why Bitcoin?
ไม่ใช่ทุกบล๊อคเชนจะเท่ากัน
บล๊อคเชนที่โปร่งใส,ตรวจสอบได้ จะทำให้ผู้ใช้เข้าถึงได้ง่ายกว่า
Not all blockchains are created equal. The more open and transparent a blockchain is, the easier market participants can analyze its underlying fundamentals. The most useful public blockchains offer easy-to-access tools to audit their networks. Today, any individual can download a Bitcoin client,4 install a node, and extract insightful network data with relatively low barriers to entry.
Ark Invest เชื่อว่าคุณสมบัติสำคัญของ Bitcoin ที่ตรวจสอบได้ โปร่งใส และเปิดเผย
โดยมีคุณสมบัติคือ
1. Simple Accounting System: Bitcoin อยู่บนพื้นฐานของ Blockchain สามารถทำให้ตรวจสอบ/ติดตาม การทำธุรกรรมทางการเงินได้ง่าย ต่างจากการเงินแบบเดิม
2. Verifiable Code: การทำงานของ Bitcoin ขึ้นอยู่กับ Code ซึ่งถูกพินิจวิเคราะห์อย่างละเอียด ซึ่งต่างจากซอฟแวร์ทั่วไปที่ออกแบบมาให้ใช้งานได้หลากหลาย
3. Efficient Nodes: การทำงานแบบ Prove of Work คือการที่สามารถให้ใช้ Computer จากทั่วโลกเข้าร่วมในการตรวจสอบการทำงานของ Code เป็นกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าการทำธุรกรรมทางการเงินแบบดั้งเดิมมาก
3 Layer Pyramid Analysis
Layer 1: Assessing the Health of The Bitcoin Network
ตารางตรวจสอบความแข็งแรงของ Layer 1
ประกอบไปด้วย
1. Monetary Integrity (ความมั่นคงของสภาพความเป็นเงิน)
2. Security (ความปลอดภัย)
3. Usage (การใช้งาน)
1. Monetary Integrity (ความมั่นคงของสภาพความเป็นเงิน)
Bitcoin สามารถสร้างความมั่นคงในการเป็นค่าเงินได้โดย การวิเคราห์ Total Circulating Supply, และจำนวนเหรียญที่ผลิตเพิ่มขึ้นในแต่ละวัน
จากอดีต จำนวนธนบัตรที่ถูกผลิตขึ้นมักจะถูกกำหนดโดยนโยบายทางการเงิน
แต่ Bitcoin จำนวนเหรียญทั้งหมด และ จำนวนเหรียญที่จะถูกผลิตในอนาคต ถูกกำหนดไว้แล้ว ดังนั้นทำให้สามารถคาดเดา และตรวจสอบได้ ทำให้ Bitcoin สามารถรักษาสภาพความมั่นคงของความเป็นค่าเงินได้ดี
2. Security
ความปลอดภัยของ Bitcoin เกิดขึ้นจาก “นักขุด (Miners)” ผู้ซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบธุรกรรมที่เกิดขึ้นบนระบบของ Bitcoin
จากภาพ จะเห็นว่า อัตราการขุด (Hash Rate) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงถึงว่ามีจำนวนผู้เข้ามาร่วมสร้างความมั่นคงให้แก่ระบบสูงมากยิ่งขึ้น
3. Usage
พิจารณาได้จากจำนวนผู้ใช้งาน (Active Address), number of transaction, economic activity
3.1 Active Address
อาจสามารถตรวจสอบจำนวนกระเป๋าของผู้ใช้งานได้โดยตรง หรือตรวจสอบได้จาก User ใน exchange และ จำนวนนักขุด
จากภาพ จะเห็นว่า จำนวนกระเป๋าที่มี น้อยกว่า 10 BTC เพิ่มขึ้นอย่างมาก แสดงว่า มีรายย่อยเข้าถือ BTC จำนวนมากขึ้น แสดงว่ามีผู้เข้ามาในระบบสูงขึ้น
3.2Transaction Volume
จากภาพ จะเห็นว่า จำนวน Transaction มีการเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสิ่งที่น่าสนใจคือ ความสามารถในการโอนเหรียญข้ามประเทศ
พิจารณาเส้น Velocity (เส้นสีฟ้า) จะสังเกตุว่าลดลงเรื่อยๆ คาดว่าเนื่องจาก คนส่วนใหญ่ซื้อ BTC แล้วเก็บ(HODL) แต่ในช่วงท้ายๆ มีการเพิ่มขึ้นเล็กน้อย อาจจะเกิดจากนักลงทุนย้าย BTC บางส่วนไปลงทุนสินทรัพย์ดิจิตอลตัวอื่นๆ
แสดงถึงเริ่มมีคนจำนวนมากกำลังเข้าสู่โลกของ คริปโต เคอเรนซี่ กำลังจะเติบโต
3.3 Transaction Count
ก็เป็นตัวชีวัดหนึ่งที่สามารถบ่งบอกถึงจำนวน Economic Activity
จากภาพด้านล่าง จะเห็นว่าตั้งแต่ช่วงขาลงของตลาดในช่วง july 2021 ค่าTransaction Count มีการเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
Layer 2: Assessing Buyer and Seller Behavior
ใน Layer 2 เราจะพิจารณาเกี่ยวกับพฤติกรรม ผู้ถือเหรียญ Bitcoin และ ต้นทุนของผู้ถือเหรียญ
มูลค่าของ Bitcoin แปรผันตาม Demand/Supply ฝั่ง Supply ถูกกำหนดไว้ตายตัว ส่วนฝั่ง Demand เกี่ยวพันกับ การที่ Bitcoin จะกลายไปเป็น Global Digital Money
ในภาพใหญ่ Demand ของ Bitcoin เป็นขาขึ้น แต่ในกรอบเวลาสั้น ราคามีความผันผวนอย่างมาก นักลงทุนสามารถประเมินความผันผวนของ Demand ซึ่งมีผลต่อราคา โดยการศึกษาพฤติกรรมของ ผู้ซื้อ/ผู้ขาย ณ ห้วงเวลานั้นๆได้
Bitcoin Inner Economics
เราสามารถทำความเข้าใจพฤติกรรมของ ผู้เกี่ยวข้อง ในโลกของ Bitcoin ได้แก่
1. Miners and Mining Pools :
- ควบคุม Inflow ใหม่ๆ
- Miner มักจะขายเหรียญที่ขุดได้ทันที เนื่องจากมีต้นทุนของเครื่องขุด
- แรงขาย จึงเกี่ยวพันธ์กับ เรทการขุดได้ของเหรียญ
2. Exchange
- เป็นผู้ควบคุม ราคาในตลาด
- เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่าง Miner, Custodian, Holder&Investor
3. Holders, Investor, User
- เป็นผู้ขยายมูลค่าของ Bitcoin Economy
- พบว่า Adoption Rate และ Holding Period เกี่ยวผันธ์กับ นักลงทุนสถาบัน
UTXOs: Bitcoin’s Transaction Ledger
The unspent transaction output (UTXO) คือ ผู้ทำการบันทึกข้อมูล Address ของ BTC Transaction
ทุกครั้งที่มีการ Transaction จะทำการบันทึกจำนวนเหรียญ BTC ในระบบ และทุกคนสามารถทำการตรวจสอบการทำ Transaction นี้ได้
จุดสำคัญที่นักลงทุนสนใจคือ สามารถหาข้อมูลว่า ใครถือบ้าง จำนวนเท่าไหร่ ระยะเวลาการถือ รวมถึงต้นทุนราคา
Buyer-And-Seller Behavior Metrics
เชื่อว่า ความสำพันธ์ระหว่างข้อมูลต่อไปนี้จะส่งผลต่อ Short/Mid Term Price
1. Cointime Destroyed
เป็นการวัด Time-Weighted Turnover โดยพิจารณา จำนวน Bitcoin Transaction ในช่วงเวลา, ระยะเวลาในการถือ BTC (Holding Peroid)
การเพิ่มขึ้นของ Cointime Destroy แสดงว่า ผู้ถือเหรียญระยะยาว ย้ายเหรียญออกจากกระเป๋าที่ใช้เก็บเหรียญออกมาขายทำกำไร
จากภาพ เห็นว่า Cointime Destroy เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงถึงราคาของ BTC ยังอยู่ในช่วงขาขึ้น และยังทำ All time High อย่างต่อเนื่อง และ Cointime Destroyed ยังอยู่ต่ำกว่า ATH ในปี 2018 อยู่อีกมาก
2. On-Chain Profit and Losses
Realized profit/Losses วัดจาก จำนวน มูลค่า BTC เป็น Usd ที่ทำการ Transaction ที่เกิดขึ้นจริงใน Exchange
จากภาพด้านบนจะเห็นว่า ผู้ถือ BTC ส่วนใหญ่ จะกำไร (เส้นสีเขียวอยู่บน)
3. Realized Capitalization
Realized capitalization (realized cap) is their average cost basis, valuing each bitcoin at the price of its last movement
Realized Cap = ราคาเฉลี่ยของผู้ถือเหรียญ x จำนวนเหรียญ
Market cap = Current Price x number of Coin in circulation
เมื่อ Market Cap < Realized Cap = Loss
4. Thermo Capitalization
คือ Total Usd ที่จ่ายให้กับ Miner เพื่อเป็นค่า Transaction fee
ซึ่งสามารถบอกว่าเป็น ต้นทุนของ BTC ก็ได้
จากภาพ จะเห็นว่า Thermo Cap ต่ำกว่า market Cap 97% แสดงว่า Thermo Cap ไม่ได้ส่งผลต่อราคาของ BTC ที่เกิดจากฝั่ง miner
Thermo Cap จึงไม่ใช่ปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณา ราคาของ BTC
แต่สามารถใช้เป็นปัจจัยใจการประเมินมุลค่าได้
5. HODL Waves
จากภาพจะเห็นว่า ผู้ถือเหรียญ BTC ระยะสั้น คือนักเก็งกำไร มีแนวโน้มคงที่หรือลดลง และมีความเปลี่ยนแปลงที่สูง (กราฟ หยัก)
แต่จำนวนผู้ถือเหรียญระยะยาว มีเพิ่มสูงมากขึ้น แสดงว่า มีคนเชื่อมั่น BTC ในระยะยาวสูงขึ้น
Layer 3 : Valuing Bitcoin
เป็นการพิจารณา Buy/Sell Signals โดยคำนึงจาก Relative-Value Metric (คล้ายกับ Enterprise Value to EBIDA : EV/EBIDA)
เราต้องใช้ 2 Metrics ร่วมกันในการพิจารณา
1. Cost basis metric = พิจารณาพื้นฐานของราคา ที่แปลผันกับความแตกต่างของผู้ลงทุนแต่ละประเภท
1. Market-valueto-realized-value (MVRV) ratio
2. Market-value-to-thermo-value (MVTV) ratio
3. Investor capitalization
4. Short-to-long-term-realized-value (SLRV) ratio
2. Profit and Loss metric = พิจารณาวิธีที่ ผู้ซื้อ/ผู้ขาย ทำการซื้อขายเพื่อทำกำไร
1. Realized profits-to-value (RPV) ratio
2. Short-term-holder profit/loss (STH-PL) ratio
3. Seller exhaustion constant
1.Cost Basis Metrics
1.1 Market-Value-to-Realized-Value Ratio
 
MVRV Ratio = Market Cap / Realized Cap
ใช้วัดราคาเปรียบเทียบกับ ค่าเฉลี่ยของราคาต้นทุนของทุกคนในตลาด
เมื่อ MVRV < 1 แสดงว่า Market Sell at Loss คือ ตลาดกำลังขายขาดทุน
จากข้อมูลในอดีต จะพบกรณี MVRV < 1 ได้ที่จุดต่ำสุดของวัฐจักร
ในทางกลับกัน เมื่อ MVRV > 1 มากๆ แสดงว่า Market Cap กำลังเพิ่มสูงเกินไปจากการ FOMO จะเกิดการ Take Profit
คือ ราคาจจะลดลงนั่นเอง
จากภาพ จะเห็นว่า
ที่ราคา BTC จุดพีค ค่า MVRV Ratio จะพุ่งถึง 10
ตัวอย่าง ต้นปี 2021 MVRV พุ่งไปที่ 8 ณ จุดนั้น ราคา BTC ตกลงถึง 53%
โดยเฉลี่ย MVRV จะอยู่ที่ 2-3
1.2 Market-Value-to-Thermo-Value Ratio
MVTV Ratio = Market Cap / Thermo Cap
คือมูลค่าเปรียบเทียบระหว่าง ราคา ต่อ ต้นทุนการขุด เปรียบเหมือน EV/EBIDA
จากภาพ พบว่า
ช่วงเดือน เมษา2021 ราคา BTC ขึ้นไป ATH ค่า MVTV เพิ่มขึ้นตาม
และหลังจากนั้น ราคา BTC กลับไปที่ ATH อีกครัง ค่า MVTV ก็เพิ่มขึ้นตามเช่นเดียวกัน
แสดงว่า MVTV จะแปรผันตาม ราคา BTC
1.3 Investor Capitalization
Investor Cap = Realized Cap - Thermo Cap
ใช้พิจารณาในช่วงตลาดขาลง การนำ Realized Cap หักออกด้วย ต้นทุนการขุด หรือ Thermo Cap
เราจะสามารถหา Fair Value ณ จุดต่ำสุดของตลาดขาลงได้
จากภาพ พบว่า เมื่อ Market Cap เข้าใกล้ Investor Cap จะเป็นจุดต่ำสุดของตลาดในช่วงขาลง
1.4 Short-to-Long-Term-Realized-Value Ratio
SLRV = 1-day HODL wave / 6M-1Y HODL wave
ใช้เปรียบเทียบจำนวนเหรียญที่มีการเคลื่อนที่ ระยะสั้น เทียบกับ ระยะกลาง/ยาว
ค่ามาก แสดงว่า ผู้ถือเหรียญระยะยาว นำเหรียญมาเทรดเพิ่มมากขึ้น มีการซื้อขายระหว่างวันสูงขึ้น
จากภาพจะเห็นว่า ค่า SLRV ที่ต่ำกว่า 0.04 จะอยู่ในช่วงตลาดขาลง และเมื่อ ค่าSLRV กลับตัวเพิ่มมากว่า 0.04 จะเริ่มเป็นช่วงตลาดขาขึ้น
2. Profit and Loss Metric
2.1 Realized Profits-to-Value Ratio
RPV Ratio = On-Chain Profit(Usd) / Realized Cap
เป็นการวัดอัตรากำไรของผู้ถือเหรียญ โดยพิจารณาความแตกต่างระหว่าง กำไรที่เกิดขึ้นจริงเป็น Usd เทียบกับ ต้นทุนเฉลี่ยของผู้ถือเหรียญในตลาด
บอกถึงอัตราการเคลือนไหวของเหรียญ BTC ในตลาดในแต่ละวัน
ตามภาพด้านล่าง จากข้อมูลในอดีต พบว่า
เมื่ออัตรากำไรของผู้ถือเหรียญ RPV > 0.02 จะเป้นจุดที่ราคาสูงที่สุดของรอบขาขึ้น
เมื่อ RPV มีค่าต่ำกว่า 0.0001 จะเป็นจุดที่ราคาอยู่ในจุดต่ำสุดของรอบขาลง
เช่น มีจุดที่ RPV แตะค่า 0.02 เมื่อต้นปี 2021 ราคาของเหรียญ BTC ตกลงถึง 53% จากจุดสูงสุดหลังจากนั้น
2.2 Short-Term-Holder Profit/Loss Ratio
STH or PL Ratio = Short-term supply of a Bitcoin at a Profit / Short-Term Supply at a Loss
เป็นค่าเฉลี่ย มีค่าเท่ากับ 1 จะบ่งบอกถึง จุดสูงสุดในรอบขาขึ้น และจุดต่ำสุดในรอบขาลง เมื่อ การไหลเวียนของ BTC ในระยะสั้น ผ่านจุดสมดุลเฉลี่ย
เมื่อ PL < 1 ผลรวมของการซื้อขายในตลาด ผู้ที่ทำการซื่อ/ขายภายในระยะเวลา 155 วันที่ผ่านมา คือ ขาดทุน
เมื่อ PL > 1 ผลรวมการซื้อขายในตลาด คือ กำไร
เมื่อ PL < 1 มักจะจะเป็นจุดเริ่มต้นของ ตลาดขาลง
จากภาพ ช่วงต้นปี 2021 หลังจาก BTC ร่วงลงจาก 64,000 usd เหลือ 28,000 usd
ค่า PL Ratio เริ่มผ่านค่า 1 ในช่วงเดือนกันยา แสดงถึง ราคา BTC Bottom Out
ปัจจุบัน ค่า PL = 1 แสดงถึง ราคา BTC อยู่ในช่วงราคากลาง เหมาะสม
2.3 Seller Exhaustion Constant
SEC = Bitcoin total Circulating in supply in Profit x Price volatility in 30 day
บอกถึง ความผันผวนของราคา (Price Volatility) สามารถบ่งชี้ถึง การเปลี่ยนแปลงของราคาในอนาคตได้
เมื่อ Low Volatine x hight loss บ่งบอกถึงความกลัวในตลาด มีแนวโน้มทำให้ราคา BTC กำลังจะถึงจุดต่ำสุด และเป็นโอากาศที่ดีในการซื้อ BTC
Conclusion
3 Layer Pyramid Analysis
Ark Invest Team ได้ทำการวิจัยและหาข้อมูลเพื่อหาวิธีการทำความเข้าใน และสามารถ ประเมินมูลค่า(Valuation) Bitcoin ได้
โดยแบ่งนักลงทุนเป็น 3 ระดับ
Layer 1 : สำหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจ Bitcoin หรือผู้ที่พึ่งเริ่มลงทุนใน Bitcoin
จะอธิบายพื้นฐานว่า ทำไม Bitcoin ถึงเป็นสินทรัยพ์ที่น่าลงทุน อะไรทำให้ Bitcoin น่าเชื่อถือ
Layer 2 : สำหรับนักลงทุนระยะยาว หรือนักลงทุนทั่วไป
จะอธิบายถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ ราคา ของเหรียญ BTC, ผู้เกี่ยวข้องในระบบ, ให้เข้าใจถึงภาพใหญ่ของตลาด
Layer 3 : สำหรับนักลงทุนที่จริงจัง
จะใช้เครื่องมือต่างๆในการช่วยในการตัดสินใจหาช่วงที่เหมาะสมในการ ซื้อ/ขาย เหรียญ BTC
เนื่องจาก Bitcoin เป็นสินทรัพย์ใหม่ที่ไม่สามารถใช้ทฤษฏีจากโลกการเงินในยุคปัจจุบันอธิบายได้โดยตรง นักลงทุนจึงพยายามหาทฤษฏีในการอธิบายพื้นฐานของมัน โดยใช้วิธีการที่คิดค้นขึ้นใหม่ที่นักลงทุนสามารถเข้าในพื้นฐานของ Bitcoin ได้
เหมือนที่เราใช้ข้อมูลจากตัวเลขทางเศรษฐกิจของภาครัฐ หรือการรายงานผลประกอบการรายไตรมาสของบริษัทเอกชน Bitcoin สามารถให้ข้อมูลเหล่านี้ได้แบบ Realtime, โปร่งใส สามารถทราบถึงข้อมูลผู้ใช้งานจริง จำนวนกระเป๋าเงิน Digital ที่ถือ BTC โดยไม่มีใครควบคุมจากส่วนกลาง ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ได้
ซึ่งคุณสมบัติความโปร่งใส ตรวจสอบได้ของ Bitcoin, Ark invest เห็นว่านักลงทุนจะสามารถลงทุนใน Bitcoin ได้อย่างเหมาะสม จากข้อมูลที่มีได้
Lucky Pilot Investor
" เพราะการบินและการลงทุน
มีหัวใจเดียวกันคือ
ทำด้วยความรู้ "
Aviation - Invesment - Technology
-----------------------------
โฆษณา