Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
สาระจีน
•
ติดตาม
27 ม.ค. 2022 เวลา 02:33 • สุขภาพ
❌ห้ามนำอาหาร 5 ชนิดนี้เข้าตู้เย็น เพราะจะทำให้ผลิตอะฟลาทอกซินได้ง่าย ซึ่งไม่ดีต่อตับ
เชื่อว่าทุกครัวเรือนต้องมีตู้เย็น จุดประสงค์คือ เพื่อเก็บอาหารและเพื่อความสดของอาหาร อย่างไรก็ตาม วันนี้แอดจะมาแบ่งปันเกี่ยวกับอาหารแต่ละประเภทที่ไม่ควร เเช่ตู้เย็น เพราะทำให้เกิด อะฟลาทอกซินซึ่งส่งผลต่อร่างกายโดยเฉพาะตับ
อะฟลาทอกซินคือ สารก่อมะเร็งที่ร้ายแรงที่สุดซึ่งเป็นที่รู้จักกันก็คืออะฟลาทอกซิน เป็นสารพิษที่เกิดจากรา.ซึ่งเจริญในดิน พืชพรรณที่ย่อยสลาย ฟางและเมล็ดพืช มักพบในโภคภัณฑ์สำคัญที่เก็บอย่างไม่เหมาะสม
1.ผักใบเขียว
แน่นอนว่าหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยกับการแช่ผักใบเขียวในตู้เย็นดังนั้นเมื่อหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็กินให้ทันเมื่อเห็นเชื้อราหรือส่วนที่เน่าเสียควรทิ้งทันที
2. ผลไม้เมืองร้อน
ผลไม้ยังมีความจำเป็นทุกวันและมีคุณค่าทางโภชนาการค่อนข้างสูงและบางคนชอบกินผลไม้เมืองร้อนแต่เน่าเปื่อยง่าย ในขณะเดียวกัน ผลไม้เมืองร้อนเหล่านี้ชอบอยู่ในอุณหภูมิต่ำ สภาพแวดล้อมของตู้เย็นจึงทำให้เกิดแบคทีเรียและผลิตอะฟลาทอกซินซึ่งเป็นอันตรายต่อตับถ้าเน่าก็ควรทิ้งทันที
3. บะหมี่
บะหมี่เมนูประจำของชาวใต้ของจีนและหลายประเทศก็นิยมทานแต่ก็ยังมีบางคนที่ชอบใส่บะหมี่ที่เหลือในตู้เย็นซึ่งไม่แนะนำทำให้เกิดเชื้อราได้ง่ายเวลาเกิดมักมองไม่เห็นคนก็จะเผลอกินต่อ
เคยเกิดเหตุการณ์ที่ครอบครัวหนึ่งกินบะหมี่ที่เหลือในตู้เย็นแล้วเสียชีวิตทั้งบ้าน
4. ของดองต่างๆ
ของดองมีสารก่อมะเร็งบางชนิดอยู่แล้ว แต่ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็นจะทำให้เกิดสารก่อมะเร็งชนิดอื่นได้ง่ายขึ้นไปอีก เช่น อะฟลาทอกซิน การรับประทานเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์จะเพิ่มภาระการเผาผลาญของตับและยังเพิ่มมะเร็งตับอีกด้วย ดังนั้นจึงควรทานให้น้อยหลีกเลี่ยงได้ก็หลีกเลี่ยง
5. เครื่องปรุง
เครื่องปรุงรสเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในห้องครัวและสามารถเพิ่มรสชาติของอาหารได้ แต่ควรระวัง อย่าเก็บไว้ในตู้เย็น เพราะสภาพการเก็บรักษาของตู้เย็นจะทำให้พื้นผิวชื้นมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งจะเป็นการเพิ่มการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรคต่างๆ เช่นการเกิดของเชื้อราอะฟลาทอกซิน
อ้างอิงจากก:景医生科普
บันทึก
2
2
2
2
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2025 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย