ทันทีที่จำนวนของพวกมันลดลงอย่างรวดเร็ว มันส่งผลร้ายมากกว่าเดิม แทนที่จะมีการอนุรักษ์เพิ่มขึ้น แต่ยิ่งใกล้สูญพันธุ์นักสะสมยิ่งต้องการพวกมันมากขึ้นเท่านั้น นักชีววิทยา ทอม ไวท์ (Tom White) จาก US Fish and Wildlife Service และที่ปรึกษาด้านเทคนิคของโครงการกู้ภัยกล่าวว่า “พวกมันกลายเป็นของหายากและด้วยเหตุนี้บุคคลที่ไร้ยางอายจึงตัดสินใจที่จะพยายามนำบางส่วนที่เหลืออยู่ในป่าไปเป็นคอลเลกชันส่วนตัวของตัวเอง”
ขณะที่โครงการเพาะพันธุ์จะใช้นกแก้วจากของสะสมส่วนตัวได้จัดตั้งขึ้นตามศูนย์ต่างๆ ทั่วโลก โดยผู้ดูแลหลักของโครงการนี้คือ องค์กรในเยอรมนีที่ชื่อว่า Association for the Conservation of Threatened Parrotsฃ