1 ก.ย. 2022 เวลา 07:44 • วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี
Behavioral Sink: Universe 25 (1968-1973), John Calhoun
การล่มจมทางพฤติกรรม จากทรัพยากรที่เหลือเฟือ จนขาดจิตสำนึกทางสังคม
... while everyone was worried about a lack of resources, one behavioral researcher in the 1970s sought to answer a different question: what happens to society if all our appetites are catered for, and all our needs are met?
The answer – according to his study – was an awful lot of cannibalism shortly followed by an apocalypse.
จะเป็นอย่างไรถ้าเราอาศัยอยู่ในยูโทเปีย โลกที่เราไม่ต้องทำงานหาเงินเพื่อใช้จ่าย อยู่ฟรี กินฟรี เพราะทรัพยากรมีให้เราอย่างเพียงพอ ทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ...
“จะเกิดอะไรขึ้นกับสังคม ถ้าเราตอบสนองความต้องการของเราได้ทั้งหมด”
ในจุดนี้มันยังคงเป็นไปตามปกติของระบบนิเวศตามธรรมชาติ ซึ่งมีสัตว์อายุน้อยสามารถอยู่รอดจนโตได้มาก พวกมันจะเข้าทำหน้าที่แทนที่สัตว์ที่ตายไปหรือแก่กว่า ในขณะที่ส่วนเกินที่ไม่มีหน้าที่ในสังคมต้องอพยพออกไป
John B Calhoun
การทดลองของ Calhoun ถูกตีความว่า เป็นหลักฐานถึงสิ่งที่อาจเกิดขึ้นในโลกที่มีประชากรมากเกินไป อาจทำให้เกิดความล้มเหลวในหน้าที่ทางสังคม และนำไปสู่การสูญพันธุ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
สัดส่วนประชากรต่อพื้นที่สะท้อนความเป็นอยู่ของพวกเราอย่างอ่อนไหว ว่ากันว่าเมืองที่ปิดล้อมคุณไว้ อาจกระตุ้นให้คุณรู้สึกใกล้ประสบการณ์ ‘เฉียดบ้า’ และหากมองย้อนกลับมา พวกเราก็กระทำความพินาศไว้เยอะเพื่อให้แต่ละวันมันผ่านพ้นไป
"Behavioral sink" is a term to describe a collapse in behavior which can result from overcrowding. Calhoun coined this term in his February 1, 1962 report in an article titled "Population Density and Social Pathology" in Scientific American.
A series of rodent experiments showed that even with abundant food and water, personal space is essential to prevent societal collapse.
โฆษณา