18 ม.ค. 2023 เวลา 07:10 • วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี

ผลศึกษาการใช้งานจริงบริการ Telehealth สำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องต่อเนื่อง

New Research Publication"Telehealth Service for Patients Receiving Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis: A Pilot Study"
Publisher: Siriraj Medical Journal (2023)
1
ผลการศึกษาจากการใช้งานจริงของ บริการ Telehealth สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง: การศึกษานำร่อง
วารสาร Siriraj Medical Journal (2566) สำนักพิมพ์: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
จากการวิจัยโดยผู้ให้บริการทางสาธารณสุขด้วยนวัตกรรมทางการรักษาต่อเนื่อง จากศิริราชพยาบาลและคู่ความร่วมมือ “การดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง” หรือ “PD Telehealth” ที่ช่วยยกระดับระบบบริการสุขภาพแก่ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง เพิ่มคุณภาพการบริการทางการแพทย์และพยาบาล ลดค่าใช้จ่าย และเป็นต้นแบบในการนำไปใช้ขยายผลในศูนย์ล้างไตทางช่องท้องอื่นต่อไป
โดย
◉Aurawamon Sriyuktasuth รศ.ดร.อรวมน ศรียุกตศุทธ, Faculty of Nursing, Mahidol University
◉Piyatida Chuengsaman พญ.ปิยะธิดา จึงสมาน Banphaeo Dialysis Group
◉Worapan Kusakunniran รศ.ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ Faculty of Information and Communication Technology, Mahidol University
◉Assadarat Khurat ดร.อัษฎารัตน์ คูรัตน์ Faculty of Information and Communication Technology, Mahidol University
◉Nattaya Rattana-umpa ดร.นาตยา รัตนอัมภา Faculty of Nursing, Mahidol University
และ 2 ผลงานลิขสิทธิ์ https://sites.google.com/mahidol.edu/mvit-ict-mahidol/awards
1. ©️2021 2564: PD Easy (Mobile Application) ในระบบการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง (PD Telehealth)
2. ©️2021 2564: PD Easy (Web Application) ในระบบการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง (PD Telehealth)
PD TeleHealth CopyRight Thailand
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการได้ที่
Objective: This study aimed to assess the feasibility and acceptability of delivering a telehealth intervention, called PD Telehealth, for improving health outcomes among Thai patients receiving continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD).
Materials and Methods: This pilot study enrolled 104 patients receiving CAPD, who were randomly classified into two groups: PD Telehealth group (PD Telehealth service plus usual care; n = 52) and usual care group (usual care only; n = 52).
The 6-month telehealth service was provided to participants to deliver self-management support and tele-monitoring while they received home-based treatment. Further, the repeated measures mixed analysis of variance test was used to assess health outcomes at baseline, 3 months, and 6 months. Additionally, feasibility and acceptability were assessed.
Results: Notably, the measured baseline characteristics of the two groups were not different. Regarding quality of life, a significant interaction effect was observed on two domains of the 36-Item Short Form Survey-general health (p = 0.002) and reported health transition (p = 0.018). However, self-management and clinical outcomes did not differ significantly between the two groups over 6 months. The PD Telehealth group demonstrated high acceptability and feasibility of the application.
Conclusion: The PD Telehealth service has been demonstrated to be feasible and acceptable for providing care to patients receiving CAPD. However, there were no significant differences in the main outcomes of the study. Further research studies involving a larger and more diverse sample population and conducted over a longer period are needed
กับการพัฒนา และการใช้งานอย่างต่อเนื่อง
ทางทีมของอาจารย์คณะพยาบาลศาตร์ มหิดล ได้ตีพิมพ์ผลการศึกษาต่อกับผลงาน
Factors Influencing Telehealth Service Use and Health Outcomes in Patients Undergoing Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis: Cross-Sectional Study
เป็นผลงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพทางไกล ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง ด้วยระบบการแพทย์ระยะไกล TeleHealth เป็นการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้กับงานบริการทางการแพทย์ที่น่าสนใจมากและเป็นตัวอย่างที่แสดงได้ชัดเจนตัวอย่างหนึ่งในประเทศไทย เพื่อผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติงานทางการแพทย์ โดยวัดคุณภาพการใช้งาน #Telehealth และผลลัพธ์ของสุขภาพผู้ป่วยที่ใช้บริการ
อ่านฉบับเต็มได้ที่ https://www.jmir.org/2023/1/e48623
บทความโดย กิตติคุณ ทองกัญชร, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล
By Kittikhun Thongkanchorn, ICT Mahidol Univrtsity

ดูเพิ่มเติมในซีรีส์

โฆษณา