5 พ.ค. 2023 เวลา 00:30 • สิ่งแวดล้อม

เจ้าค้างคาวจากเมืองเมลเบิร์น ต้องใช้สปริงเกอร์ฉีดน้ำช่วยในสภาวะโลกร้อน

ในทุก ๆ เย็น เจ้าค้างคาว flying foxes หัวเทานับหมื่นตัวจะบินข้ามท้องฟ้าในเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย
ในตอนกลางวัน กลุ่มค้างคาวจำนวนมากอยู่ในต้นไม้จะช่วยกันผสมเกสร ห้อยตัว (dangling (v.)) งีบหลับ (snooze (v.)) ตามกิ่งไม้ หรือบางตัวก็ส่งเสียงกันไปมา (chatter (v.))
ในตอนกลางคืน พวกมันก็จะโผบิน (flit (v.)) อย่างรวดเร็วออกมาจากต้นไม้ ทั่วรัฐ Victoria เพื่อค้นหา (seeking (v.)) อาหารจำพวก ใบไม้ ดอกไม้ และผลไม้
ค้างคาวออสเตรเลีย flying foxes งีบหลับตอนกลางวัน https://rangerrick.org/ranger_rick/flying-foxes/
https://rangerrick.org/ranger_rick/flying-foxes/
แต่ในช่วงฤดูร้อน ความร้อนได้เข้ามาคุกคาม (threaten (v.)) ความสงบสุขของการดำรงชีวิต (existance (n.)) ของพวกมัน เมื่ออุณหภูมิสูงถึง 40 องศา ทำให้พวกมันต้องตายเกือบพันตัว
ยกตัวอย่างในวันที่อากาศร้อนมาก ๆ (sweltering (adj.)) ในแปดปี ระหว่างปี 2013-2020 มีถึง 10 ครั้งที่อากาศร้อนติดลำดับมากที่สุดของออสเตรเลีย ดังนั้นในเมลเบิร์นซึ่งได้รับฉายาว่า Batmania (เมืองค้างคาว) ได้วางแผน (devised (v.)) ที่จะแก้ไขปัญหานี้ โดยการฉีดน้ำให้แก่ค้างคาว
https://www.bangkokpost.com/world/2555231/melbournes-bats-get-their-own-sprinklers
โดยในปีนี้ใช้งบประมาณราว 4.1 ล้านบาท เครื่องพ่นน้ำ 32 เครื่องถูกติดตั้งบริเวณแม่น้ำในสวนสาธารณะ Yarra Bend
Bushland park ของเมืองเมลเบิร์นเป็นสวนขนาดใหญ่และเป็นที่อยู่ของกลุ่มค้างคาวนับ 35000 กลุ่ม ในฤดูร้อน
คุณ Brendan Sullivan เจ้าหน้าที่ของสวน Victoria กล่าวว่า "โดยปกติ ระบบฉีดน้ำจะช่วยลดอุณหภูมิให้ลดลงประมาณ 6 องศาเซลเซียส" (ในบริบทใช้คำว่า sophisticated (adj.)) ที่แปลว่าไม่เป็นตามธรรมชาติ)
โดยการออกแบบเต็มไปด้วย (fraught (adj.)) ความยุ่งเหยิง (complication (n.)) เขากล่าวอีกว่า "นอกเหนือจากความกังวลในเรื่องของเสียงรบกวน ควมทนทาน (durability (adj.)) และการคำนวณระยะฉีดทางคณิตศาสตร์ (logistic (n.)) ระบบฉีดน้ำยังต้องป้องกันที่จะเฝ้าดูแลต่อพวกนกกระตั้ว (cockatoo (n.)) ซึ่งเป็นสัตว์ประจำถิ่นที่จะชอบใช้จะงอยปาก (beak (n.)) ดึงสิ่งของออกจากกัน
นกกระตั้ว สัตว์ประจำถิ่นที่พบเห็นได้มากในออสเตรเลีย https://www.wsj.com/articles/cockatoos-are-getting-smarter-should-humans-be-worried-11666186695
เจ้าหน้าที่ติดตั้งเครื่องมือต้องดิ้นรน (struggle (v.)) ที่จะใช้ฝนเทียม(mimic light rain shower) เพื่อเพิ่มความเย็นให้แก่ค้างคาว โดยที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มความชื้นในอากาศ ซึ่งมันเสี่ยงที่จะทำในสิ่งที่ย้อนแย้งกันเช่นนี้
โดยบทสรุปของเครื่องมือที่จะใช้คือ ใช้น้ำกรองจากแม่น้ำ วางตั้งในลักษณะที่คล้ายคลึงกับต้นกกฤๅษีเป็นแนวยกสูงขึ้นมา (บริบทตรงนี้ อาจทำให้เห็นภาพยาก ในข่าวใช้คำว่า Resembles a series of towering metal cattails เลยจะลองหาภาพมาให้ผู้อ่านได้ชม แต่ของจริงอาจไม่เหมือนที่ผมหามาก็ได้ 55555)
https://glmetalfab.com/project/wrought-iron-cattails-sculpture/
และเจ้าค้างคาวจะใช้เครื่องมือนี้ได้อย่างไร ?
พวกมันฉลาดกว่าที่เราคิดมาก Mr. Sullivan กล่าว "ขณะที่พวกเรากำลังทดลอง (trail (v.)) เครื่องมือ มีค้างคาวตัวหนึ่งบินผ่านสายน้ำ ก่อนที่จะบินกลับเข้าฝูง และส่งเสียงร้องแหลม (chirruping (n.)) มันเหมือนกับว่ามันส่งเสียงบอกเพื่อนของมัน จากนั้นค้างคาวตัวที่สองก็ร้อง และร้องต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ ในฝูง"
ในที่สุด ก็มีฝูงค้างคาวจำนวนมาก (heap of bats) มาที่เครื่องมือ และบินผ่านเครื่องมือของพวกเรา Mr. Sullivan กล่าวอีกว่า "มันเหมือนกับพวกค้างคาวสื่อสารกันในกลุ่มว่า มาดูเจ้าเครื่องมือนี่สิ"
ค้างคาว Flying foxes รู้วิธีที่จะร่วมมือกัน (cooperate (v.)) อย่างที่ Rodney van der Ree นักนิเวศวิทยา มหาวิทยาลับเมลเบิร์นได้กล่าวไว้ว่า "พวกมันฉลาดมาก ๆ ฝูงของพวกมันจะพากันบินไปในพื้นที่ใหม่ เมื่อพวกมันรู้ว่ามีแหล่งอาหารที่มาก และบางที มันอาจจะพูดคุยกัน บอกต่อกันไปเรื่อย ๆ ในฝูง
ในเดือนธันวาคม ปี 2019 พบว่าค้างคาวหัวเทา Flying foxes กว่า 4500 ตัวไหม้เกรียม (scorching (v.)) และเสียชีวิต (perish (v.)) ในบริเวณเมืองเมลเบิร์น ใน 3 วันที่อากาศมีความร้อนสูงมาก
ในวันที่อากาศร้อนมากที่สุด พวกค้างคาวจะมีกลยุทธ์ (strategy (n.)) โดยจะรับมือ (cope (v.)) ด้วยวิธีการ หุบ (panting (v.)) และพัด (fanning (v.)) ปีกของพวกมัน แต่กลไกนี้อาจไม่ทำงาน เพราะเมื่อเกิดการสูญเสียน้ำ น้ำในร่างกายก็จะลดลง สภาพจิตใจก็ลดลงด้วย (mental function ebbs) และทำให้ค้างคาวบางตัวเกิดอาการชัก (seizures (n.)) และเมื่อไม่รับการดูแลแย่างเร่งด่วน (urgent (adj.)) พวกมันจะตาย
ทีมอาสาสมัครได้เล่าถึงความสลดใจ (trauma (n.)) เมื่อต้องเห็นเวลาที่ชีวิตที่กำลังจะหมดลงบนใบหน้าของค้างคาว flying foxes และซากศพ (carcass (n.)) ของสัตว์ (creature(n.)) ที่กองอยู่ลึกเกือบหัวเข่า พวกอาสาสมัครทำงานเพื่อช่วยเหลือพวกมันมาหลายปีแล้ว
"คุณจะรู้สึกหมดหวัง (despair (n.)) ในบางช่วง แต่คุณต้องดึงตัวเองกลับมาและดำเนินการต่ออย่างเร็วที่สุด (crack on (v.)) เพราะนี่เป็นวิธีเดียวที่จะตอบสนองต่อปัญหานี้ ถ้าพวกเราไม่ช่วยเหลือพวกค้างคาว พวกมันก็ไม่เหลือใครแล้ว" Lawrence Pope อาสาสมัครผู้ทำงานมากว่า 2 ทศวรรษ (two decade) กล่าว
ในการบินของค้างคาวนั้น มันจะจัดตัวมันให้เป็นรูปทรงแหลม และโฉบ (swooping (v.)) ปีกของพวกมันที่ความกว้างกว่า 1 คืบ (span (n.)) พุ่งตัวลงไปยังต้นไม้ ซึ่งมันดูคล้าย (resemble(v.)) กับรองเท้าบู๊ทเก่า ๆ เลย ถ้ามองเข้าไปใกล้พวกมัน จะเห็นดวงตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใหญ่ แผงคอที่มีขนปกคลุมสีน้ำตาลสนิม และหูขนาดใหญ่ที่ดูขยับไปมาอย่างอยากรู้อยากเห็น (inquisitive (adj.)) ส่วนลูกค้างคาวก็มักที่จะแสดงอาการสะอึก (hiccups (n.))
พวกมันดูน่ารักมาก ๆ (คำพูดของ Sarah Frith สัตวแพทย์ของสวนสัตว์ Victoria ผู้ที่ดูแลเรื่องอาการป่วยของค้าวคาว) พวกมันไม่ก้าวร้าว (No aggressive (adj.)) พวกมันมีธรรมชาติที่อ่อนโยนมาก ๆ (gentle (adj.)) มันเป็นความสุขอย่างแท้จริงที่ฉํนได้รู้จักพวกมัน
https://tolgabathospital.org/flying-foxes/
แต่ท่ามกลางคนจำนวนมากในออสเตรเลียตำหนิ (rap (v.)) พวกสัตว์ว่าทำให้เกิดมลภาวะทางกลิ่น ส่งเสียงดัง และมีแนวโน้มที่จะเป็นพาหะก่อโรค
จากข้อมูลของนักนิเวศวิทยา จำนวนค้างคาวลดลง (diminish (v.)) ประมาณ 7 แสนตัว ในปี 2019 เปรียบเทียบกับฝูงของค้าวคาวจำนวนหลายล้านตัวก่อนที่พวกมันจะตั้งรกราก (colonisation (n.)) ซึ่งค้าวคาวเป็นกุญเเจที่สำคัญอย่างมาก (keystone (n.)) ที่เป็นตัวผสมเกสรแด่พันธุ์ไม้พื้นถิ่น (native species) จำนวนมากของออสเตรเลีย
Mr. Pope ตามด้วยภรรยาของเขา ได้เข้าช่วยเหลือค้างคาวลูกกำพร้า (orphaned (v.)) โดยในปีนี้มีเจ้า Stinky, Manky, Hanky, Panky และ Wriggle และดูแลเลี้ยงดูพวกมันในตระกร้าหวายจนกว่าพวกมันจะโตเพียงพอ และจะปล่อยกลับฝูง
เมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมา ในสิ่งปลูกสร้างชั่วคราว (makeshift (n.)) ที่ใช้เป็นบ้านพักพิงของค้างคาวที่เริ่มเป็นวัยรุ่น (adolescent (adj.)) พวกมันจะปีนขึ้นไปกินน้ำบนถังด้านบนที่แขวนไว้บนผนังสำหรับค้างคาว พวกมันจะผุบ ๆ โผล่ ๆ (stealthily adv.)) ที่บนราวและบนเพดาน (ceiling (n.)) และค้างคาวจะยื่น (reach (v.)) ออกมาและฉวยขโมย (purlion (v.)) เอาหมวกกันแดดไป
พวกค้างคาวได้รับความเสี่ยงจากเมืองหลายอย่างมาก เช่น รวดหนาม ตาข่ายของต้นไม้ และสายไฟฟ้า Mr.Pope มองในแง่ดี (optimistic (adj.)) ว่าการใช้ปริงเกอร์ฉีดน้ำจะช่วยอนุรักษ์จำนวนของค้างคาวในสภาพอากาศที่ร้อนมาก ๆ ได้
ถึงแม้ว่า Grey-headed flying foxes จะเป็นสัตว์พื้นถิ่นของประเทศออสเตรเลีย พวกมันย้าย (transplant (v.)) เข้ามาในเมลเบิร์น และไกลออกไป (farther (adj.)) ทางทิศใต้ ในช่วงทศวรรษนี้ เนื่องจากการโดนทำลายแหล่งที่อยู่อาศัย (habitat destruction)
Simon Toop กล่าวว่า "วันที่พบพวกค้างคาวในเมลเบิร์นครั้งแรกที่สวนพฤกษศาสตร์เมลเบิร์นในปี 1990 พวกมันเป็นของที่แปลกใหม่ (novelty (n.))"ก่อนที่จะมีองค์การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเข้ามาดูแล
แต่จำนวนของพวกมันพุ่งขี้น และเริ่มรบกวน (irk (v.)) ผู้ที่มาเยี่ยมชมสวน จนพวกมันกลายมาเป็นสัตว์ที่ก่อโรคและรบกวน (pests (n.)) Simon Toop พูดต่อว่า "มันเป็นจุดหนึ่งในสวนที่สัตว์ถูกยิงเพื่อจะลดผลกระทบที่ตามมา และนั่นทำให้หน่วยงานราชการต้องเข้ามาดูแล
การฆ่าค้างคาว เพื่อปกป้อง species อื่น ๆ ที่อ่อนแอกว่า (vulnerable (adj.)) ยังไม่สามารถที่จะป้องกันได้ โดยเฉพาะงานที่รักษาสวัสดิภาพ (welfare (n.)) ของสัตว์ รวมถึงสิ่งที่ Mr. Pope ทำ เริ่มจากการตั้งแคมป์ที่ใต้ต้นไม้ นั่นทำให้รัฐบาลส่วนท้องถิ่นมีความทะเยอทะยาน (ambitious (adj.)) บางทีก็ออกแคมเปญตลก ๆ (farcical (adj.)) ที่จะขับไล่ (expel (v.)) พวกค้างคาวออกจากสวนพฤกษศาสตร์
ทีมงาน นำโดย Mr Toop บ่นว่าพวกค้างคาวส่งเสียงดัง (blasting sound (v.)) มันเหมือนเสียงหวือ (whoosh (n.)) บนถนน ในบางเคส ประชาชนก็เข้าไปขู่(hiss (v.)) หรือต่อสู้ (bang (v.)) กับพวกมันที่บนฝาถังขยะในสวน
หลังจาก 2 สัปดาห์ที่พวกมันโดนรบกวน(disturbance (n.)) พวกค้างคาวก็ออกจากสวนพฤกษศาสตร์ นานกว่า 8 เดือนแล้วที่พวกมันอพยพไปอีกที่ นั่นคือที่ใกล้ ๆ บ่อน้ำของสวนหลังบ้านส่วนตัวของนักเรียนหญิงชาวออสเตรเลีย
อย่างไรก็ตามทีมของ Mr. Toop ก็เข้าไปจัดการพวกมัน แต่พวกค้างคาวจดจำพวกเขาได้ พวกค้างคาวเห็นพวกเขา และส่งเสียงกรีดร้อง (scream (v.)) ถึงจะมีผู้คนแวะเข้ามา พวกมันก็ไม่ได้แสดงอาการกังวลอะไร
ท้ายที่สุด พวกค้างคาวก็ย้ายไปอยู่ที่แนวของแม่น้ำ ซึ่งเป็นจุดที่ทางการที่หวังจะฟื้นฟูจำนวนของพวกมัน ซึ่งพวกค้างคาวตัวเมียที่เริ่มเกิดขึ้นมา รัฐก็ประนีประนอม (compromise (v.)) กับพวกมันมากขึ้น
2 ทศวรรษมานี้ การให้น้ำโดยสปริงเกอร์เป็นความพยายามที่จะทำให้พวกค้างคาวอยู่กันอย่างสุขสบาย แต่การเปิดสวิตซ์ให้น้ำจะใช้ในเวลาที่มีความเสี่ยงเรื่องอากาศที่ร้อนอย่างแท้จริง (genuine (adj.)) โดยเฉพาะในวันที่อากาศร้อนมาก ๆ
ในวันที่โลกร้อนขึ้น พวกค้างคาวต้องปรับตัวต่อสภาพอากาศ Prof Van Der Ree นักนิเวศวิทยากล่าวว่า "ความเครียดจะส่งผลให้ทัศฯะคติของพวกค้างคาวเกิดการวิวัฒนาการ" ในทางอุดมคตินั้น เราต้องการให้ค้างคาวสามารถรับมือ (handle (v.)) กับความร้อนผ่านยีนของพวกมัน แต่พวกค้างคาวยังสามารถทำได้ตอนนี้
https://www.bbc.com/news/in-pictures-51191849
https://www.bbc.com/news/in-pictures-51191849
ปัญหาโลกร้อนเป็นปัญหาจริง ๆ ค้างคาวเป็นอีกหนึ่งเคสที่อยากให้ผู้อ่านมีจิตสำนึกต่อเพื่อนร่วมโลกอีกหลายชนิดที่กำลังลำบากนะครับ
อยากให้โลกใบนี้ดีกว่าเดิมจากการที่ทุกสิ่งมีชีวิตช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
นักเขียนกิ๊กก๊อก
ห้องแห่งความฝัน
พญาไท กรุงเทพฯ
5 พฤษภาคม 2566
โฆษณา