20 ต.ค. 2023 เวลา 11:07 • ประวัติศาสตร์

ศัพท์ความรู้ในนิยาย จอมนางคู่บัลลังก์

เคยหลง (Kelong) ชื่อเมืองหลวงของแคว้นกุยเลอ
3
แคว้นดงหลิน (Donglinguo : คงหลินถั่ว) แปลว่า แคว้นป่าตะวันออก
เสียวจิ้งอานหวาง หรือเจ้าชายเทิดสันติน้อย เป็นคำเรียกทายาทผู้ซึ่งจะสืบทอดตำแหน่ง
“จิ้งอานหวาง” (เจ้าชายเทิดสันติ) ซึ่งตำแหน่งนี้จะตกทอดแก่บุตรชายคนโตของภรรยาหลวง
ต้าหวางแห่งดงหลิน คือ พระราชาแห่งแคว้นคงหลิน ต้าหวาง (dawang) แปลว่า พระราชา
กระบี่เอยพ่อ (heimo) กระบี่หมึกดำ
เหล่าจือ (laozi) แปลว่า พ่อ เป็นคำเรียกตัวเองแบบดูถูกคู่สนทนา คือยกตัวเองว่าเป็นพ่อของคู่สนทนา
หวางเยี่ย (wangye) เป็นสรรพนามเรียกเจ้าชายที่ได้รับพระราชทานราชทินนามจากต้าหวางแล้วภายในเรื่องนี้ หวาง เป็นบรรดาศักดิ์ แปลว่า เจ้าชาย
เหยีย แปลว่า นาย,ท่าน เป็นคำเรียกต่อท้ายตำแหน่งหรือบรรดาศักดิ์เพื่อแสดงความเคารพ (เมื่ออยู่ท้าย คํา "หวาง" เสียงอ่าน "เหยีย” จะเปลี่ยนเป็น “เยี่ย")
ป้ายพิงถึง (Baipingting) แช่ป้าย ชื่อพิงถึง แปลว่า (หญิงผู้มี) ท่วงทีกิริยางาม 12 เหอเสีย (Hexia) แซ่เหย ชื่อเสีย แปลว่า ผู้กล้า
หลี่ ( : ) หน่วยวัดระยะทางของจีนโบราณ 1 หลี่ = 500 เมตร
น่าครั่นคร้ามแม้มิกราดเกรี้ยว (bunuziwei : ปู่จื้อเวย) หมายถึง ดูมีอำนาจน่าครั่น คร้ามย่าเกรงโดยไม่ต้องแสดงอาการโกรธเกรี้ยวออกมาเป็นการข่มขวัญ
เหล่าจาง : จาง (Zhang) เป็นแซ่เหล่า (lao) เป็นคำใช้เรียกผู้ที่แก่วัยกว่าหรืออายุ เท่ากันด้วยความสนิทสนม
องค์ชาย (wangzi : หวางจื้อ) หมายถึง เจ้าชายที่ยังไม่ได้รับพระราชทานราชทินนาม จากค้าหว่างภายในเรื่องนี้ เนื่องจากเหอซูเป็นรัชทายาทซึ่งจะขึ้นครองราชย์เป็นต้าหว่าง ต่อไป จึงไม่ได้รับพระราชทานราชทินนาม
เสี่ยวชิง (Xiaoqing) เป็นชื่อทั้งสองพยางค์ "ซิง" แปลว่า สีเขียว “เสี่ยว” แปลว่า น้อย เล็ก ปกติมักเป็นสรรพนามนำหน้าชื่อใช้เรียกผู้ซึ่งอายุน้อยกว่าหรือเท่ากันอย่างสนิทสนม แต่ ในที่นี้เป็นส่วนหนึ่งของชื่อ เป็นการตั้งให้ฟังดูน่ารัก แปลได้เป็น น้องชิง หนูชิง ชิงน้อย เป็นต้น
เสี่ยวหง (Xiaohong) เป็นชื่อทั้งสองพยางค์ “หง” แปลว่า สีแดง “เสี่ยว" มีความหมาย เดียวกับค่า “เสี่ยว” ของ “เสี่ยวชิง"
คำว่า “นักศึกษา” ในที่นี้หมายถึงผู้ที่เล่าเรียนหาความรู้เพื่อเตรียมเข้าสอบรับราชการ เป็นขุนนางบุ๋น
จิ้งอานหวางเยี่ย (เจ้าชายเทิดสันติ) หมายถึง ท่านพ่อของเหอเสีย
เจิ้นเป่ยหวาง (Zhenbeiwang) เจ้าชายสยบอุดร ฉูเป่ยเจีย (Chubejijie) แช่ ชื่อ เปียเจี้ย แปลว่า ชนะศึกอุดร (หลักการอ่านเสียงภาษาจีนกลาง เมื่อคำที่มีเสียงเอกสอง ค่าอยู่ติดกัน คำเสียงเอกคำแรกจะเปลี่ยนเป็นเสียงจัตวา ดังนั้น “อู่เปียเจีย” จิงอาน
เป็น "อูเป่ยเจี๋ย" ด้วยเหตุนี้) 2 พ่อบ้านตัว (ฮั่วกวนเจีย) ฮัว คือแซ่ หากไม่สนิทกัน คนจีนจะนิยมเรียกด้วยแซ่
คําสรรพนามยกย่อง หรือ แซ่ + อาชีพ ตำแหน่ง
ลานแจ้งกลางบ้าน ภาษาจีนเรียกว่า “เทียนจึง” แปลว่า บ่อสวรรค์ ภายในบ้านคนจีน สมัยก่อนจะมีบริเวณที่เจาะเป็นช่องไม่มีหลังคาเอาไว้ตากผ้าหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่ ต้องอาศัยแสงแดดโดยไม่ต้องออกไปนอกตัวบ้าน
เฉินมามา (Chenmama) มามา ปกติแปลว่า แม่ แต่ในที่นี้เป็นภาษาถิ่น ใช้เรียกสตรีมีอายุอย่างให้เกียรติ
กูเหนี่ยง (guniang) คำเรียกผู้หญิงที่ยังไม่แต่งงาน
กุ้ยฮวา (Quihuagao) ขนมทำจากแป้งข้าวเหนียวใส่ดอกกุ้ยฮวา
ทายก คือ ผู้ถวายจตุปัจจัยแก่ภิกษุสามเณร ถ้าเป็นเพศหญิงเรียกว่า ทายิกา
ซือฝู (shifu) ค่าเรียกหลวงจีน เป็นคำที่ใช้เรียกอาจารย์ด้วยเช่นกัน
จ้ายเซีย (Zaixia) แปลว่า “ผู้อยู่ต่ำกว่า” เป็นสรรพนามเรียกตัวเองอย่างถ่อมตัวของ คนจีนโบราณ ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว
ผู้รู้สำเนียง หมายถึง ผู้เข้าใจในเสียงเพลงที่บรรเลงออกมาตามที่ผู้บรรเลงเสียงเพลงต้องการสื่อ
ต้นหวย คือ ไม้ยืนต้นผลัดใบชนิดหนึ่งของจีน
เตีย (die) หรือ เตียเตีย คือค่าเรียกพ่อของคนจีน เป็นค่าเดียวกับ "เตี่ย" ที่คนไทยเรียก
ไม้ลง หรือ ไม้จากต้นคู่ลง (Wutong) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบชนิดหนึ่งของจีน ใบมี 3-5 แฉกแล้วแต่ชนิด ชนิดที่ใบมี 5 แฉกจะดูคล้ายดาวมาก เนื้อไม้มีสีขาว น้ำหนักเบาแต่ แข็งมาก นิยมนำมาใช้ทำเป็นเครื่องดนตรี
พธู แปลว่า ผู้หญิง
คิมหันต์ แปลว่า ฤดูร้อน สารท (สา - ระ - ทะ) แปลว่า ฤดูใบไม้ร่วง
คงติ้งหนาน (Dongdingarian) แซ่ลง แปลว่าฤดูหนาว ชื่อทิ้งหนาน แปลว่าสยบทิศใต้
ทราบกระจ่างดุจนิ้วบนฝ่ามือ (lianruzhizhang : เหลี่ยวหรูจือจาง) หมายถึงรู้กระจ่าง เหมือนรู้จักมือของตัวเอง
สาวหวางเยี่ย (shaowangye) เจ้าชายน้อย ว่าที่หว่างเยี่ย
ตงหลินหวาง (Donglinwang) หวางแห่งดงหลิน หรือ พระราชาแห่งตงหลิน พี่ชายของจูเป่ยเจี๋ย
อ้ายชิง (aicing) ขุนนางที่รัก เป็นคำเรียกขุนนางผู้ใหญ่ที่มีความสำคัญอย่างให้เกียรติของฮ่องเต้หรือ
ต้าหวาง
กั๋วเหริน ย่อมาจาก "กูเจียกั๋วเหริน” (gujaguaren) แปลว่า “ตัวข้าผู้โดดเดี่ยว” หมายถึงผู้ซึ่งอยู่อย่างโดดเดี่ยวเพียงผู้เดียวเหนือคนอื่นทุกคน หรือก็คือ “กษัตริย์” นั่นเอง เป็นที่เหล่าเจ้าผู้ครองแคว้นหรือก็คือ “กษัตริย์” ของแต่ละแคว้นในยุคชุนชิวจ้านกั๋วของจีน (227 ก่อนพุทธกาล - พ.ศ. 323) ใช้เรียกแทนตัวเอง
โฆษณา