12 พ.ย. 2023 เวลา 12:57 • หนังสือ

ถอด “สารบัญ” หนังสือ หลักการคลื่นเอลเลียตต์-กุญแจสู่พฤติกรรมตลาด

Elliott Wave Principle-Key To Market Behavior
ราล์ฟ เนลสัน เอลเลียตต์ (Ralph Nelson Elliott) ได้ค้นพบทฤษฎีคลื่นเอลเลียตต์ในช่วงทศวรรษที่ 1930 โดยพบว่า ราคาในตลาดเป็นรูปแบบที่เกิดซ้ำ และรูปแบบดังกล่าวสามารถเชื่อมกันเพื่อสร้างรูปแบบที่ใหญ่ขึ้น จนเกิดโครงสร้างที่เชื่อมโยงกัน แล้วเรียกรูปแบบนี้ว่า "คลื่น" จากการเชื่อมโยงกันดังกล่าวทำให้ราล์ฟ เนลสัน เอลเลียตต์ สามารถคาดการณ์ราคาได้อย่างแม่นยำ ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1940 ราล์ฟ เนลสัน เอลเลียตต์ได้นำทฤษฎีนี้มาเรียบเรียงและเขียนหนังสือเรื่อง The Wave Principle (หลักการคลื่น) ในปี ค.ศ.1938
ผู้เขียน A. J. Frost (เอ. เจ. ฟรอสต์), Robert R. Prechter (โรเบิร์ต อาร์. เพรชเตอร์)
ผู้แปล สมิทธ์ อุดมมะนะ
สารบัญ
▪คำอุทิศ
▪คำนิยม
▪จดหมาย
▪บันทึกของผู้เขียน
▪คำนำจากผู้เรียบเรียง
ภาคที่ 1 ทฤษฎีเอลเลียตต์ (Elliott Theory)
▪บทที่ 1 หลักการทั่วไป
☉ หลักการพื้นฐาน
☉ การวิเคราะห์โดยละเอียด
☉ คลื่นส่ง
☉ Impulse
☉ Diagonal
☉ คลื่นปรับ
☉ Zigzag
☉ Flat
☉ Triangle
☉ Combination
☉ จุดสูงสุดและจุดต่ำดั้งเดิม
☉ การทบยอดลักษณะและรูปแบบ
☉ คำศัพท์เฉพาะเพิ่มเติม (ไม่บังคับ)
☉ แนวคิดและรูปแบบที่ผิดพลาด
▪บทที่ 2 แนวทางการเกิดรูปแบบคลื่น
☉ การสลับ
☉ เจาะลึกคลื่นปรับ
☉ พฤติกรรมหลังจากการเกิดคลื่นที่ห้าขยาย
☉ ความสมมาตรของคลื่น
☉ การแสดงคลื่น
☉ เส้นคู่ขนาน
☉ การทะลุข้าม
☉ มาตราส่วน
☉ ปริมาณการซื้อขาย
☉ รูปแบบที่ถูกต้อง
☉ บุคลิกคลื่น
☉ สรุปกฎกณ์และแนวทางสำหรับคลื่น
☉ เรียนรู้พื้นฐาน
☉ การปรับใช้เชิงปฏิบัติ
▪บทที่ 3 ภูมิหลังทางคณิตศาสตร์และประวัติศาสตร์ของหลักการคลื่น
☉ เลโอนาร์โด ฟีโบนักชี แห่งเมืองปิชา
☉ ลำดับฟีโบนักชี
☉ อัตราส่วนทองคำ
☉ สัดส่วนทองคำ
☉ สี่เหลี่ยมผืนผ้าทองคำ
☉ เกลียวทองคำ
☉ ความหมายของ Phi
☉ ฟิโบนักชีในตลาดหุ้นแบบเกลียว
☉ คณิตศาสตร์ฟิโบนักในโครงสร้างของหลักการคลื่น
ภาคที่ 2 การประยุกต์ใช้เอลเลียตต์
▪บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนและลำดับเวลาฟิโบนักชี
☉ การวิเคราะห์อัตราส่วน
☉ หลักการวิเคราะห์อัตราส่วน
☉ ความสัมพันธ์แบบหลายคลื่น
☉ ลำดับเวลาฟิโบนักชี
☉ ทฤษฎีเบนเนอร์
▪บทที่ 5 คลื่นระยะยาวและคอมโพสิตปัจจุบัน
☉ คลื่น Millennium จากยุคมืด
☉ คลื่น Grand Supercycle นับแต่ปี 1789 ถึงปัจจุบัน
☉ คลื่น Supercycle นับแต่ปี 1932
▪บทที่ 6 หุ้นและสินค้าโภคภัณฑ์
☉ หุ้นรายตัว
☉ หุ้นสินค้าโภคภัณฑ์
☉ ทองคำ
▪บทที่ 7 วิธีการอื่น ๆ กับตลาดหลักทรัพย์ และความสัมพันธ์กับหลักการคลื่น
☉ ทฤษฎีดาว
☉ วัฏจักรเศรษฐกิจ "คลื่นคอนดราทีฟฟ์"
☉ วัฏจักร
☉ รูปแบบทศวรรษ
☉ ข่าวสาร
☉ ทฤษฎี Random Walk
☉ การวิเคราะห์เชิงเทคนิค
☉ วิธี "การวิเคราะห์เศรษฐกิจ"
☉ แรงกดดันจากภายนอก
▪บทที่ 8 คำกล่าวของเอลเลียตต์
☉ สิบปีข้างหน้า (The Next Ten Years)
☉ กฎธรรมชาติ (Nature's Law)
▪ภาคผนวก
☉ การคาดการณ์ระยะยาวในช่วงปี ค.ศ 1982-1983
☉ คำศัพท์
☉ PUBLISHER' S POSTSCRIPT
หนังสือเล่มนี้ เป็นการรวบรวมทฤษฎีคลื่นเอลเลียตต์ที่ราล์ฟ เนลสัน เอลเลียตต์ได้ค้นพบไว้อย่างละเอียด ไม่เพียงเท่านั้น ฟรอสต์และเพรชเตอร์ได้ต่อยอดจากงานของราล์ฟ เนลสัน เอลเลียตต์ให้สมบูรณ์มากขึ้น
โดยการศึกษา และวิจัยรูปแบบตลาดในปัจจุบัน ว่าเป็นไปตามทฤษฎีนี้มากน้อยเพียงใด จึงทำให้เป็นหนังสือที่ รวบรวมทฤษฎี Elliott Wave ที่สมบูรณ์ครบถ้วนที่สุด มีการอธิบายหลักการคลื่นเอลเลียตต์ (Elliott Wave Principle) อย่างเป็นขั้นตอน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ และเนื้อหาภายในเล่มมักจะถูกนำไปใช้เพื่ออ้างอิง ในงานเขียนเเละ งานวิจัยมากมาย
.
📌 พิกัด หนังสือเพื่อนักลงทุน INVESTING.in.th
📚อ่าน ฟัง อะไรดี… “กลุ่ม (ไม่) ลับ Learn Yourself” : https://m.facebook.com/groups/1087333118678239/
#ถอดสารบัญ #ElliottWavePrinciple #การเงินการลงทุน #จิตวิทยา #พัฒนาตนเอง
★ ★ ★ ★ ★
โฆษณา