6 มี.ค. เวลา 14:31 • ศิลปะ & ออกแบบ
เขตบางกอกน้อย

ออกแบบเส้นทางเดินย่านบางขุนศรี

แผนที่สามารถออกแบบเส้นทางการเดินได้
1.นัดรวมที่ตลาดสดบางขุนศรี เพื่ออธิบายภาพรวม ข้อมูลสำคัญ มีที่นั่งพักคอย มีร้านอาหารและเครื่องดื่ม ห้องน้ำ ที่จอดรถ ซึ่งเดินทางสะดวกจากรถสาธารณะ
สิ่งที่จะอธิบายเพิ่มเติมคือ ประวัติความเป็นมาของย่านหรือเขตบางกอกน้อย เท่าที่จะสืบค้นได้ในระบบฐานข้อมูล
.
บทกวีนิราศตามคลองบางกอกน้อยถึงบางใหญ่
บทกวีนิราศตามคลองบางกอกน้อยถึงบางใหญ่
ดาวน์โหลดเอกสารในรูปแบบ pdf
หรืออ่านเป็นเล่ม scan online ได้ทางนี้
.
ความทรงจำบางกอกน้อย
ความทรงจำบางกอกน้อย
UNFOLDING BANGKOK | Hidden Temple : สารคดีเรื่องความทรงจำบางกอกน้อย (The Memoir of Bangkok Noi) https://www.youtube.com/watch?v=g0sfMkR_lrg
บทความวิชาการ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นย่านปากคลองบางกอกน้อยฝั่งเหนือ
.
.
หลวงพ่อขำ วัดแก้ว เกจิในย่านนี้
.
2.เริ่มออกเดินไปชมจุด แยกไฟฉาย เรื่องราวสงครามโลกครั้งที่สอง การตั้งฉายไฟเพื่อปืนต่อสู้อากาศยาน ตำนานนิยายความรัก คู่กรรม ที่มีฉากหลังเป็นย่านแห่งนี้
.
ระหว่างเดินผ่าน วัดรวก(มีข้อมูลใน บทกวีนิราศตามคลองบางกอกน้อยถึงบางใหญ่) รวมถึง วัดไชยทิศ บางขุนศรี (ภาพจิตรกรรม) http://www.thaistudies.chula.ac.th/2018/09/29/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%A8-%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5/?fbclid=IwAR0yNHHLJaAZEzMnv1zZ9YDmqIaZcVfTJk2c6PM84Nqbp1YwwkVP0uE28oM
ฐานข้อมูลจิตรกรรมฝาผนังภาพเกี่ยวกับอาหารและการกินอยู่
ทุนทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม
เกี่ยวกับอาหารไทยในยุค THAILAND 4.0 (ฐานข้อมูลจิตรกรรม วัดไชยทิศ)
เปิดที่มา “สามแยกไฟฉาย” สามแยกในตำนาน ที่ทุกวันนี้เหลือแต่ชื่อ
ทำไมจึงชื่อแยกไฟฉาย
ที่มาของชื่อ "สามแยกไฟฉาย" ///////
.
3.เดินผ่านเส้นทางรถไฟบางกอกน้อย (ผสมข้อมูลเรือพระราชพิธี) เส้นทางหนีของ อ.ปรีดี พนมยงค์ด้วยรถไฟสายบางกอกน้อย
อ.ปรีดี พนมยงค์ กับสถานีรถไฟบางกอกน้อย https://pr.tu.ac.th/pridi/pridi63/files/basic-html/page80.html?fbclid=IwAR2Np_GcUZX4u1ClZeNsYv2csG3GyUcyvTyWPjpwcbZEDr8p0jK7ZjV9oeU
"นายปลั่ง มีจุล" ผู้เรียกเรือจ้างให้'ปรีดี พนมยงค์' รอดจากการถูกจับ
ปรีดี ปีนัง และ สาส์นสมเด็จ
หลากเรื่องเล่า เมื่อปรีดีหนีครั้งแรก
ปรีดีหนี ครั้งหลัง พ.ศ.2492
ไทยทึ่ง เรื่องเด็ดเกร็ดเมืองไทย ตอน #บางกอกน้อย พาทึ่ง #โรงรถจักรธนบุรี
ไทยทึ่ง WOW! THAILAND | EP.17 รวมเรื่องทึ่งย่าน #บางกอกน้อย ย้อนรอยฉากประทับใจในคู่กรรม
เมื่อกรุงเทพฯ ต้องเผชิญภัยทางอากาศ
4.วัดสุวรรณาราม จิตรกรรมเอกสมัยร.3 การประชันฝีมือของครูช่างที่ต้องโทษประหาร
เรื่องเล่าภาพจิตรกรรมวัดสุวรรณาราม (นาทีที่ห้าสิบ) https://www.youtube.com/watch?app=desktop&v=6dxIr6VjnKk
ภาพจิตรกรรม วัดสุวรรณาราม
จิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถวัดสุวรรณาราม งามระดับโลก
รู้ไว้ใช่ว่า...ตอน จิตรกรรมฝาผนังวัดสุวรรณาราม ตอน ๒
จิตรกรรมฝาผนังวัดสุวรรณารามพร้อมภาพประกอบ pdf
“ตลาดไร้คาน” ภูมิปัญญาช่างโบราณสุดคลาสสิก...ฟื้นชีวิต วิถีชุมชม กินเที่ยวที่เดียวจบที่ย่าน “บ้านบุ”
ข้อมูลอื่น เช่น มะม่วง ทุเรียน ภาพจิตรกรรม อาชีพโบราณ
ตลาดไร้คานร้อยปีเลยวัดสุวรรณารามใกล้มัสยิด
วัดระฆัง(ภาพจิตรกรรมหอไตร)
สืบค้นย่านบางกอกน้อยที่สูญหายด้วยการท่องเที่ยวภาคประชาชน
นิทรรศการดิจิทัล
ศิลปกรรมกรุงธนบุรี
หอพระไตรปิฎกของวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร
เบื้องหลังการฟื้นฟู บ้านพระราชวรินทร์ (พระยศเดิมของรัชกาลที่ 1) สู่หอไตร ในวัดระฆัง
วิญญาณขบถของลูกผู้ชายชื่อ เฟื้อ หริพิทักษ์
ฐานข้อมูลจิตรกรรมฝาผนังภาพเกี่ยวกับอาหารและการกินอยู่
ทุนทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม
เกี่ยวกับอาหารไทยในยุค THAILAND 4.0 (หอไตร ในวัดระฆัง)
ฉากพระพุทธโฆษาจารย์ไปแปลพระไตรปิฎกที่ลังกาประเทศ
ขอทานหาย เอนก นาวิกมูล วัดภาวนาภิรตาราม
วัดภุมรินทร์ราชปักษี วัดร้างฝั่งธนบุรี ที่ซ่อนงานศิลป์ฝีมือช่างโบราณ วัดร้างเขตบางกอกน้อย
วัดร้างในบางกอก
แกะรอยวัดภุมรินทร์ราชปักษีและวัดน้อยทองอยู่ สองวัดร้างชั้นยอดกลางกรุง ในความดูแลของวัดดุสิดารามวรวิหาร ปิ่นเกล้า
เลยอยากสรุปสั้นๆผ่านถุงกาวนี้ ตามความคิดเห็นส่วนตัว ว่าขุนนนท์กับขุนศรี น่าจะเป็นคนในยุคอยุธยา... ซึ่งไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับคนในชุมชนพื้นที่
มุสลิมบางกอกน้อย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์
ประวัติศาสตร์รสอร่อยของ 'แกงเผ็ดบางกอกน้อย'
แนวทางการฟื้นตลาดน้ำ@บางกอกน้อย
หนังสือที่เกี่ยวข้อง
80 ปี เขตบางกอกน้อย
เขตคลองมองเมือง
รักและรักษ์บางกอกน้อย
เจอหนังสือ จาก...แม่น้ำเจ้าพระยา มาเป็นคลองบางกอกน้อย
อาหารในสำรับมุสลิมบางกอกน้อย
มัสยิดในกรุงเทพฯ
วัดร้างในบางกอก
อยุธยาในกรุงเทพฯ
โบราณคดีเมือง โบราณคดีกรุงเทพมหานคร
ท้องถิ่นเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น
Siamese Melting Pot ก่อร่างเป็นบางกอก
ย่ำต๊อกทั่วกรุงเทพฯ
กรุงเทพฯ แต่กี้แต่ก่อน ฉบับพิมพ์ใหม่
สารคดี | สารคดี ฉบับ 445 เมษายน 2565 240 yrs of Bangkok กรุงเทพเมื่อแรกสร้าง
วิเคราะห์ “กรุงธนบุรี” ในแผนที่ของพม่า และสิ่งที่หายไปแบบไม่น่าเชื่อ
ถนนแห่งกรุงธนบุรี : นามถนนตามพระราชดำริ 11 สายในฝั่งธนบุรี
สุจิตต์ วงษ์เทศ :ไม่ต้องมีสะพานข้ามเจ้าพระยา หน้าเกาะกรุงธนบุรี-เกาะกรุงรัตนโกสินทร์
จิตรกรรมฝาผนังวัดสุวรรณาราม
ชาวต่างชาติในจิตรกรรมฝาผนังฉากมารผจญ ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร วัดเก่าแก่สมัยอยุธยาอายุ 300 ปี (11มี.ค.66) | ศักดิ์สิทธิ์คงกระพัน
บางขุนนนท์ สืบเรื่องก๋วยเตี๋ยวที่ย่านกินเส้น https://urbancreature.co/bangkhunnon-district-noodle/
เรื่องเล่าจาก ถนนเส้นก๋วยเตี๋ยว https://www.muangboranjournal.com/post/noodle-road-Bangkhunnon
เปิดตำนาน ทูลเรียน ราชาผลไม้แห่งบางขุนนนท์ https://www.sac.or.th/databases/sac_research/article-detail.php?articleID=131
ผลไม้ในสมัยรัชกาลที่ 5 มะม่วง-เงาะ-ทุเรียน ฯลฯ สวนที่ไหน? ที่ขึ้นชื่อ https://www.silpa-mag.com/history/article_78939#google_vignette
ชวนมาดูทุเรียนกรุงเทพฯ สวนบางขุนนนท์แหล่งปลูกดั้งเดิม | ที่นี่...ที่กรุงเทพฯ EP84 - 100962 https://youtu.be/Gc1udoPDEBo
จิตรกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ ๓ ความคิดเปลี่ยน การแสดงออกก็เปลี่ยนตาม
จิตรกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องราว ลักษณะ และการแสดงออก
สังคมและวิถีชีวิตชุมชนสมัยรัชกาลที่3 : ศึกษาจากภูมิปัญญาภาพจิตรกรรม วัดสำคัญฝั่งธนบุรี
สมุดสเกตช์ของช่างเขียนไทยโบราณ
ขรัวอินโข่ง
ขรัวอินโข่ง รุ่งอรุณของศิลปะไทยสมัยใหม่
ร.4 ทรงตำหนิภาพสตรีในวัดทองนพคุณ อุจาด “นั่งปัสสาวะ-ผ้าข้างหน้าแหวกถึงอุทรประเทศ”
หลักทัศนียวิทยาและพ ิทยาและพัฒนาการของภาพจ ัฒนาการของภาพจิตรกรรมฝาผน ิตรกรรมฝาผนังในสมัยรัชกาลที่ 4-5
จารึกบนกรอบหน้าต่างวัดบรมนิวาส ห้องที่ 8
หนังสือ ถอดรหัสภาพผนัง พระจอมเกล้า-ขรัวอินโข่ง
แนวคิดงานจิตรกรรมภาพปริศนาธรรมในรัชกาลที่ 4
“ดอกบัวยักษ์ Victoria” ภาพปริศนาธรรมขรัวอินโข่ง วัดบวรฯ วัดบรมฯ สื่อ “ความยิ่งใหญ่” ของอังกฤษ
ภาพกากและมายาคติที่แสดงชีวิตพื้นถิ่น ในจิตรกรรมฝาผนังระเบียงคดวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร
โครงการศึกษาวิจัยทางโบราณคดี บริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี(เดิม)
คอลัมน์ สุวรรณภูมิ สังคมวัฒนธรรม
.
การขุดค้นทางโบราณคดีบริเวณพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) :
พื้นใช้งานเดิมของคนธนบุรี
10 เกร็ดประวัติศาสตร์ที่ซ่อนอยู่ในการกำเนิด รถไฟไทย
ศักยภาพการท่องเที่ยวบนพื้นฐานของมรดกทางอุตสาหกรรม กรณีศึกษา เส้นทางรถไฟกรุงเทพฯ-กาญจนบุรี

ดูเพิ่มเติมในซีรีส์

โฆษณา