Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
B.Reserve
•
ติดตาม
21 เม.ย. เวลา 06:29 • หนังสือ
ความสามารถที่ทุกบริษัทต้องการในอนาคต คือ อะไร
สภาเศรษฐกิจโลก( The world economic forum,WEF) ได้จัดลำดับทักษะการทำงานที่จำเป็นต่อองค์กรทั่วโลก 15 อย่างแห่งปี 2025 ดังนี้
1.
การคิดและปฏิรูปเชิงวิเคราะห์
2.
การเรียนรู้ด้วยตัวเองและกลยุทธ์ในการเรียนรู้
3.
การแก้ปัญหาขั้นสูง
4.
การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
5.
ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และพลังการขับเคลื่อน
6.
ความเป็นผู้นำแรงอิทธิพลต่อสังคม
7.
ความสามารถความเข้าใจความคล่องแคล่วในการใช้เทคโนโลยีเทคโนโลยีเทคโนโลยี
8.
เทคโนโลยีการออกแบบและโปรแกรมโปรแกรมมิ่ง
9.
ความสามารถในการฟื้นฟูตนเองสำรวจความเครียดและความยืดหยุ่น
10.
ความสามารถในการอนุมานทักษะการแก้ปัญหาพัฒนาไอเดีย
ที่เหลือไปหาอ่านกันเพิ่มเติม
หากเราร้องแบ่งประเภทของทักษะเหล่านี้ดูจะเห็นได้ชัดว่าทักษะการแก้ปัญหาสำคัญเป็นลำดับต้น
จะพบว่าความสำคัญนี้คือการค้นพบปัญหา -การนิยามปัญหา-การแก้แก้ไขปัญหา นั่นเอง
ยกตัวอย่างเช่นหากพบกับคำถามว่า
“ ลองเล่าว่าคุณตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เรื่องมากมากที่สุดเท่าที่เคยเจอได้อย่างไรบ้าง”
ถ้าเป็นคนที่ได้รับคำถามทำนองนี้อาจจะเริ่มต้นด้วยประโยคที่ว่า “ ลูกค้าที่ฉันเคยเจอคือ…”
ซึ่งอันที่จริงแล้วจะต้องพิจารณา ตามลำดับขั้นตอนก่อนว่า “ลูกค้าที่เรื่องมากคือลูกค้าแบบไหน“
จะเป็นการดีกว่าหากสามารถให้คำนิยามสั้นสั้นของส่วนนี้ก่อนในขณะที่พูดก็ควรคิดไปด้วยว่า “ทำไมจึงเป็นเช่นนั้นได้นะเป็นเพราะปัญหาของสินค้าหรือเปล่าหรือเป็นปัญหาด้านด้านการบริการหรือภาพลักษณ์ขององค์กรกันแน่” เป็นต้น
แทนที่จะโฟกัสเรื่องการแก้ปัญหากรณีใดกรณีหนึ่งอาจจะต้องลงลึกไปถึงองค์รวมของปัญหาทั้งเหตุผลเหตุผลที่ทำให้ลูกค้าเรื่องมากไปจนถึงการปรับปรุงระบบเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาเดิมซ้ำ
เราจำเป็นต้องวางมุมมองของตัวเองไว้ไกลๆไม่ใช่วางไว้ใต้เท้าของตัวเอง
หากเราคิดอย่างง่ายว่าจะแข่งขันกับคนอื่นด้วยคุณสมบัติ ที่เหนือกว่า อย่างไรคนที่คุณสมบัติเหนือกว่าเราก็จะต้องมีอยู่แล้วหรือถ้าคิดว่าจุดเด่นของตัวเองคือเทคนิคและทักษะ เฉพาะทาง ไม่ว่าเราจะโดดเด่นแค่ไหนแต่สักวันก็ต้องมีคนที่โดดเด่นกว่าเราโผล่มาแน่นอนและหากเป็นอย่างนั้นเราก็ต้องกายเป็นผู้ไล่ตามอย่างรีบร้อนอยู่ตลอดเวลาองค์กรตามนักแก้ปัญหาและต้องการบุคลากรที่สามารถวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาได้ด้วย
ตัวเราค้นพบปัญหาอะไร สาเหตุของปัญหานั้นคืออะไร และเราแก้ไขมันด้วยวิธีใดบ้าง หากเรามัวแต่โฟกัสกับผลลัพธ์สุดท้ายโดยไม่ได้ลงแรงกับการคำนึงถึง “ การค้นพบปัญหา ” หรือ “ การนิยามปัญหา” สักเท่าไหร่ องค์กรก็จะกลับไปพิจารณาว่ามีความจำเป็นต้องรับคนเข้าทำงานจริงหรือเพราะในองค์กรเรามีคนทำงานเก่งมากพออยู่แล้ว เนื่องจากการทำสัญญาจ้างพนักงานระยะสั้นหรือหาเอเจนซี่มาช่วยก็อาจเติมเต็มได้เหมือนกัน
สำหรับองค์กรการจ้างพนักงานเต็มเวลาถือเป็นการลงทุน ต้องรับมือกับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นฉะนั้นจึงจำเป็นต้องเรื่องอย่างละเอียดถี่ถ้วนเพื่อให้ได้มันสมองที่สามารถบรรลุคุณค่าและความสำเร็จในระยะยาวการลงทุนเดียวที่ไม่อาจยอมแพ้ได้ในสถานการณ์เศรษฐกิจอันไม่มั่นคงเช่นนี้คือการได้เจอกับนักแก้ปัญหาและนี่คือเหตุผลที่เราต้องเป็นนักแก้ปัญหาไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ
ประเด็นสำคัญจริงๆนั้นไม่ใช่เพราะสิ่งที่มีอยู่แล้วล้าหลังหรือจำเป็นต้องมีสิ่งที่ใหม่กว่ายอดเยี่ยมกว่าอะไรขนาดนั้นแต่คือสิ่งสำคัญที่ว่าเรากำลังแก้ปัญหาอะไรอยู่มากกว่าถ้าหากว่าวิธีการแบบเดิมยังใช้แก้ปัญหาได้ดีอยู่แต่กับรู้สึกว่าเป็นวิธีที่ล้าสมัยแล้วก็นั่นอาจเป็นเพราะความเหนื่อยล้าของผู้ที่สร้างมันมาเองคนเดียวก็ได้ด้วยความที่เหมือนเดิมมาโดยตลอดจึงทำให้คู่คิดรู้สึกกดดันว่าต้องติดต่อกลับมามนุษย์ต่างดาวเพื่อคิดค้นสิ่งใหม่มาให้ได้
จึงควรโฟกัสที่คน (บุคลากร, ผู้บริโภค, ผู้ใช้งาน และผู้ซื้อ)
อยู่เสมอการทดลองทำที่นอกเหนือจากการคิดว่าปัญหาที่เจอตอนนี้คืออะไรสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหานั้นคืออะไรแล้วเราต้องแก้ไขปัญหานั้นอย่างไรเป็นการทดลองเพื่อความพอใจส่วนตัวของผู้กระทำทั้งสิ้น
บางส่วนของหนังสือแด่วัย 30 ผู้คิดมาก - คิมอึนจู
พัฒนาตัวเอง
แนวคิด
ธุรกิจ
บันทึก
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย