20 มิ.ย. เวลา 03:32 • ความคิดเห็น
เมืองไทยปล่อยเงินลอยตัวตั้งแต่วิกฤต 40
ค่าเงินจึงขึ้นอยู่กับความต้องในการแลกเปลี่ยน
ถ้าเราจะซื้อสินค้าในอเมริการาคา 1 ดอลล่าร์ ตอนนี้เราต้องหาเงินบาทประมาณ 36-37 เพื่อเปลี่ยนมันเป็นดอลล่าร์แล้วส่งออกไปซื้อ ถ้าความต้องการเงินดอลล่าร์มันมีมากๆ เราอาจจะต้องหาเงินมากกว่า 36-37 บาทเพื่อสินค้าชิ้นเดียวกัน
เช่น 38, 39, 40,...เรียกว่าเงินบาทอ่อน
ถ้าแบงค์ชาติเห็นท่าไม่ดี และในคลังมีดอลล่าร์เหลืออยู่มาก เขาจะเข้าแทรกแซง คือเอาดอลล่าร์ในคลังออกมาซื้อเงินบาทไปเก็บ
ซื้อบาทบ้าง ซื้อดอลล์บ้าง ไปตามจังหวะเพื่อให้ค่าเงินบาทค่อนข้างนิ่งในระดับที่เหมาะสม ส่งผลดีในทางการค้า
แต่ถ้าวันใด(เช่นปี 40) เงินดอลล่าร์มีน้อย, หรือหมดลง บาทจะอ่อนจนหมดค่า เราจะได้ยินคำว่า "รัฐบาลกู้เงิน" ไม่งั้นเราจะซื้อสินค้าจากต่างประเทศไม่ได้เลย
ปี 40
มีการวางแผนทำให้เงินดอลล่าร์หมด, แล้วนำไปสู่การกู้ไอเอ็มเอฟ พร้อมกับเงื่อนไขยอมขายสมบัติบางอย่าง
ปตท. คือตัวอย่าง แต่สำคัญคือธนาคาร
ไทยก็ตกเป็นทาสอย่างชนิดที่ว่า 100% เต็ม ไทยกู้ไทยผ่านระบบธนาคาร แต่ยิอิวได้ส่วนต่างดอกเบี้ย
ตอนนี้เรากำลังเห็นการสร้างหนี้อีกครั้ง เพื่อทำให้มันหมดไปอีก และเริ่มการขายสมบัติที่เหลือเพื่อกู้
1
โฆษณา