15 ก.ค. เวลา 08:54 • ปรัชญา
หากเราเข้าใจที่มาที่ไป ในเรื่องราวของศีล ศีลนั้น ช่วยสกักกั้นไม่ให้เราไปสร้างกรรม เบียดเบียนทั่งตนเอง และผู้อื่น เพราะสิ่งที่เราใช้ชีวิต ตั้งแต่เกิดจนตาย เสียงไอเสียงกระแอ้ม อารมณ์ความนึกคิด กิริยา ท่าทาง ที่เราเดินไปสร้างกรรม ยืนสร้างกรรม นั่งสร้างกรร นอนก็ยังสร้าง กิริยาทั้งสี่ที่ใช้ ..ตามอารมณ์ ..โลภโกรธหลง ทั้งหมดมันเป็นกรรม ที่เรายินดรไม่ยิน ดีในอารมณ์ที่เกิดขึ้นในเรือนกาย . ตลอดชีวิต เราก็ยึดอารมณ์ที่ปรุงแต่งกาย ..
อารมณ์นั้นมันเกิดจึ้นที่กาย แล้วเราก็นำกาย เคลื่อนที่ไป นำวิญญาณเคลื่อนที่ไปด้วย ไปสัมผัส ..รับรู้เรื่องราวต่าง ทั้งดีและไม่ดี ..ไปติเตียนด่าว่าใคร ..หูของเราก็ได้ยนเสียงของเราเอว บันทึกการกระทำของตัวเอง ตลอดเวลา แล้วมีเวลาไหนบ้าง ที่เราจะพักยุติอารมณ์ได้ ..ชั่วเวลาเล็กๆน้อยๆ ก็ยังดี
. ..ดีที่เรารู้จักสละเวลาของกรรม ให้มาเป็นเวลาของการสร้าง §กายวาจาใจ ให้ปราศจากอารมณ์ เวลาตรงนี้ แหละ ที่จิตเป็นจิต ..ไม่มีอารมณ์ ไม่มีอารมณ์ที่ไปเบียดเบียนใตร จิตไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ จิตก็อยู่เฉยกายก็สงบ จิตก็สงบจากเรื่ิงราต่างที่อารมณ์นำพามาให้จิต ถามว่า มีองค์ประกอบอะไร .ในเมื่อกายก็สงบไม่มีอารมณ์มาปรุงแต่ง จิตก็ไม่มีอะไรปรุงแต่ง ..จิต จ้ตก็อ่านจิตออก ..จิตมีแต่จิต .ไม่อารมณ์นึดคิดอะไร จิตก็นิ่งอยู่เฉยๆไม่มีอารมณ์ ไม่มีกรรมเนื่องด้วยใช้กายไปตามอารมณ์
การที่เรามีศีล นั่น ก็ช่วย ยับยั่งไม่ให้เราไปสร้างกรรม..หากว่า เรามีการกระทำ ที่เป็นสัจจะ คือ นำกาย มาเดินมาปฏิบัติธรรม ยืน เดิน นั่ง นอน ..ภาวนาพุทโธ ..จิตไม่มีอารมณ์ กายก็มาเดินอยู่ในเวลาของผู้ที่ที่กำลังเดินทางไปหาธรรม ..พูดจริงทำจริงๆ ..มันก็จะแหวกจิต แหวกป่าอารมณ์ ในกายได้
โฆษณา