18 ก.ค. เวลา 12:30 • หนังสือ

เลขฐาน 2 อี้จิ้ง ของฝูซีต้นแบบอักษรจีน ตั้งแต่ยุคหินใหม่ ถึงปัจจุบัน เริ่มจากความว่าง 0 ถึง 7

กว้าทั้งแปด สัญญลักษณ์แห่งอี้จิ้ง ของฝูซีต้นแบบอักษรจีน สัญลักษณ์ทั้งแปดของอี้จิ้งใช้แทนการผูกปมเชือกในสมัยหินใหม่ สัญลักษณ์แห่งอี้จิ้งได้แทนที่นับตั้งแต่ยุคหินใหม่ จนถึงปัจจุบันได้พัฒนาเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ลำดับกว้า ก่อน พัฒนาเป็นตัวเลขภาษาจีนในปัจจุบัน
一 แทน 1,
二 แทน 2,
三 แทน 3
ตัวเลขดังกล่าวมาจาก
กว้า 三 เส้นเต็มของจีน
เนื่องจากกว่า 2,500 ปีก่อน
เต๋าบันทึกในคัมภีร์เต้าเต๋อจิง ว่า
เต๋าให้กำเนิด 一
( 0 ศูนย์ | ให้กำเนิด 一 )
一 ให้กำเนิด 二
二 ให้กำเนิด 三
三 ให้กำเนิด สรรพสิ่ง
#Naruepon Pengon
0 หรือ | ดินให้กำเนิด 一 ภูเขา ภูเขาให้กำเนิดน้ำ 二 น้ำให้กำเนิดลม 三 ลมให้กำเนิดฟ้าร้อง ฯลฯ #Naruepon Pengon
十 10 อาจมาจาก 一 แทน 1 และ | แทน 0
ข้อสังเกต 七 7 คล้ายกับเลขอารบิก 7 เปลี่ยนแปลงผกผัน จากล่างเป็นบน
เลขอื่น ๆ ประสมไปมา ของเส้นเต็ม เส้นประ เช่น
五 5 คือ 三 ขีดเส้นเต็ม / และเส้นประ ' ลงมาซ้อน
#Naruepon Pengon
ไบนารี่ ของอี้จิ้ง มากกว่า 5 พันปี
- - แทนค่า 0
หรือ 0 ในปัจจุบัน
一 แทนค่า 1
หรือ 1 ในปัจจุบัน
เลขอี้จิ้ง 000 ถึง 111 หรือ 0 ถึง 7 เทียบกับเลขฐานสองในปัจจุบัน #Naruepon Pengon Translate and compile
เปรียบเทียบกับ
เลขอี้จิ้ง 0-7 #Naruepon Pengon Translate and compile
000 คือ 0 คือ ดิน
111 คือ 7 คือ ฟ้า
#Naruepon Pengon Translate and compile
ค.ศ. 1987 จีนค้นพบโบราณสถานหลินเจียถาน ระบุอายุจากคาร์บอน-14 ระหว่าง 5,800 -5,300 ปีก่อน พบแผ่นหยกครึ่งหนึ่งถูกประกบไว้ใต้เต่าหยก กระดองเต่าตอนล่างมีรู
สำหรับผูกเชือก และมีแผ่นหยกสลักด้านหน้า มีวงกลมเล็ก ๆ ตรงกลาง กระจายรัศมีออก 4 ทิศ จาก 4 ทิศสลักลาย 8 เหลี่ยม
แล้วสลักลายวงกลมใหญ่ ซ้อนวงกลมเล็ก กระจายรัศมี 4 ทิศ
เส้นตรงและแต่ละบริเวณมีแถบรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
(ยืนยันตำนาน กษัตริย์ฝูซี ผู้ทรงคิดค้น ปากว้า แปดทิศ หรือเลขฐานสองจีนโบราณ กว่า 5,300 ปีก่อน)
#Naruepon Pengon Translate and compile
นอกจากนี้ยังพบยุ้งฉาง 5 หลัง แสดงวิถีชีวิตในวัฒนธรรมหลินเจียถาน กว่า 5,300 ปีก่อน มีการปลูกข้าว ทำนา ตกปลา ล่าสัตว์ สอดคล้องกับนักศึกษากับตำนานกษัตริย์ ฝูซีสอนชาวบ้านให้รู้จักทำแหจับปลาด้วยตนเอง ย่อมดีกว่าจับปลาให้ชาวบ้าน
#Naruepon Pengon Translate and compile
กษัตริย์ฝูซีทรงนำขีดหยินหยางมาเรียงกันสามขีด
เป็นตรีลักษณ์แปดแบบ กษัตริย์ฝูซีทรงให้ความหมายในตัวตรีลักษณ์ พระองค์ทรงจับคู่ตรงข้ามทั้งแปดทิศให้ความหมาย
กษัตริย์ฝูซี ผู้คิดค้นอี้จิ้ง
มีหลักฐานโบราณคดีจากลวดลาย พระอาทิตย์ ลายเส้นในแถวขีดประ ขีดยาว เรียงกันลงมาจำนวน 6 แถว คล้ายฉักลักษณ์ ที่ 16 อักษร ของอี้จิ้ง เทียบอักษรปัจจุบัน 豫 (ยี่) คือ อารมณ์ สติ สงบนิ่ง ปัญญา และ สุขภาพ
ปรากฏสัญลักษณ์ดังกล่าวบนโถภาชนะปากกว้างทาสีอายุ 9,000 -8,500 ปี ณ เฉียวโถว เมืองอี้หวู่ มณฑลเจ้อเจียง ประเทศจีน
#Naruepon Pengon Translate and compile
ราชวงศ์เซี่ย ปรับปรุงตรีลักษณ์แปดแบบของกษัตริย์ฝูซี โดยสร้างคัมภีร์เหลียนซาน ภูเขาที่ต่อเนื่องกัน
น่าเสียดายคัมภีร์เหลียนซานสาบสูญไปนานแล้ว
เนื่องจากราชวงศ์ซางได้กล่าวอ้างอิงคัมภีร์้หลียนซาน สร้างคัมภีร์กุยฉาง
ราชวงศ์ซาง ได้ปรับปรุงคัมภีร์เหลียนซานของราชวงศ์เซี่ยให้ทันสมัย สร้างคัมภีร์กุยฉาง (กลับสู่ความเร้นลับ)
[ปัจจุบัน คัมภีร์กุยฉางสาบสูญไปแล้ว และคัมภีร์กุยฉาง ถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงโดย คัมภีร์โจวอี้ ราชวงศ์โจว]
ปัจจุบันคัมภีร์อี้จิ้ง เล่มเดียวที่หลงเหลือถึงปัจจุบัน คือ คัมภีร์โจวอี้ ซึ่งกษัตริย์โจวเหวินทรงปรับปรุงมาจากคัมภีร์กุยฉาง ระหว่างที่พระองค์ทรงถูกกษัตริย์โจ้วหวังจองจำในเมืองหลวงเป็นเวลา 50 ปี อธิบาย 64 ฉักลักษณ์ สามารถผ่านยุคแห่งการทำลายล้างคัมภีร์ที่ราชวงศ์ฉินเห็นว่ามีส่วนขัดแย้งกับหลักการบริหารการปกครอง ฯลฯ
#Naruepon Pengon Translate and compile
สัญลักษณ์อี้จิ้ง คล้ายคลึงกับรูปแบบอักษรรูปเสียงสระ 'O' , 'I' และอักษร S#Naruepon Pengon Translate and compile
ฉักลักษณ์ อี้จิ้งก่อนฟ้า
บางฉักลักษณ์
三 อาจมีส่วนคล้ายอักษรเสียงสระ E
☳ อาจดูคล้ายอักษรเสียงสระ U
#Naruepon Pengon Translate and compile
โฆษณา