23 ส.ค. เวลา 15:35 • ประวัติศาสตร์

สงครามเนเธอร์แลนด์, ​สเปน, โปรตุเกส,​ ญี่ปุ่น​ และราชวงศ์​หมิง​ของจีน​ บนเกาะเผิง​หู​ไต้หวัน​

สงคราม​ประกาศ​เอกราช​ของ​เนเธอร์แลนด์​ ขยาย​การสู้รบมาถึง​เอเชีย​ สเปน​ยึดมะนิลาเป็น​ฐานที่มั่น​
ทำให้​กองทัพดัตช์พยายาม​เข้ายึดครอง​เขตบริหารพิเศษมาเก๊า​
และเทศมณฑลเผิงหู​ ไต้หวัน​ ดังนั้น​ กองทัพ​สเปน​ตัดสินใจสร้างป้อมปืน​ในไต้หวัน
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ.​ 1604​ ไวบรันด์ ฟาน วาร์ไวค์​ ชาวเนเธอร์แลนด์​ ส่งกองทัพ​โจมตีมาเก๊า​ แต่ถูกกองทัพ​โปรตุเกสขับไล่
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ. 1604​ กองทัพ​เนเธอร์แลนด์​เปลื่ยน​เป้าหมาย​ไปโจมตี​เกาะเผิงหู​ ไต้หวัน​ แต่ผลการเจรจากับ แม่ทัพ​​เฉิน ยู่หรง​
(ผู้สอบเป็น​ขุนนาง​ได้อันดับ​ที่​ 4 ของ​ราชวงศ์​หมิง​ มีผลงาน​เคย​ทำลายล้างสลัดญี่ปุ่นในปี
ค.ศ. 1602)
เว่ยมาลัง แห่งบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์
มีเรือขนาดยักษ์สามลำ​ ยอมถอนทัพออกจากไต้หวัน
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ. 1617 ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์โทคุงาวะ อิเอะยะสุ​ ของญี่ปุ่น​ สั่งให้นางาซากิ ไดกวน มุรายามะนำทัพโจมตี​ไต้หวัน​ แต่ต้อง​พ่ายแพ้​ต่อแม่ทัพ​​เฉิน ยู่หรง​ สลัดญี่ปุ่น​จึง​ต้องละทิ้งอาวุธและยอมจำนน
ค.ศ. 1592 โคนิชิ เกียวโจ ,
คาโตะ คิโยมาสะและคนอื่นๆ นำกองทัพจำนวน 150,000 นาย เข้ายึดครองโจมตีเกาหลี
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ. 1593 Qinmentun ชาวญี่ปุ่น​นำเรือ 200 ลำบุกไต้หวัน​ แต่พ่ายแพ้
ค.ศ. 1609 ญี่ปุ่นยึดครองริวกิว
ค.ศ. 1616 กองเรือมุรายามะ" ของญี่ปุ่น บุกไต้หวัน แต่ล้มเหลว
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ. 1621 ต้าจิน(แมนจู)​ ยึดเสิ่นหยางและเหลียวหยาง​
ต่อมาต้าจินยึดครองคาบสมุทรเหลียวตงและเกาะชายฝั่ง
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ.​ 1622 สเปน​ส่งกองกำลัง​ สู้รบกับเนเธอร์แลนด์​ เพื่อ​ครอบ​ครอง​ไต้หวัน​
ค.ศ. 1624 กองทหารของบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ขับไล่กองทหารสเปน ไปจากไต้หวัน
สเปนเริ่มยึดครองไต้หวัน
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ.​ 1650​ ชาวดัตช์เริ่มเก็บภาษีอุตสาหกรรมผลิตน้ำตาลจากอ้อย​ ร้อยละ10 ของผลิตภั​ณฑ์​ ทำให้​เกษตรกรชาวท้องถิ่น​ไต้หวัน​ไม่พอใจ​ เกิดการจลาจลนำโดย Guo Huaiyi พร้อม​พวกจำนวน​ 4,000​ คน​ แต่อาวุธ​เคียว ย่อมพ่ายศิลาของกองทัพดัตช์
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ.​ 1657​ แม่ทัพเจิ้งเฉินกงส่งกองเรือ​ปิดล้อมการห้ามการค้าของเนเธอร์แลนด์​
ค.ศ. 1661 กองทัพดัตช์ที่ประจำการในไต้หวันพ่ายแพ้ต่อกองทัพของเจิ้งเฉินกง และลงนามสนธิสัญญายอมจำนนในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 1661
ค.ศ. 1662 เจิ้ง เฉิงกง สถาปนา​ตนเป็น​กษัตริย์แห่งมณฑลเอี้ยนผิง​(ไต้หวัน)​ ขับไล่​ โค-เยตต์​เฟรเดอริก​ ซึ่ง​เป็นผู้บริหารคนที่สิบสอง ของเนเธอร์แลนด์เป็น​ผลสำเร็จ​
ค.ศ. 1665 โค-เยตต์ เฟรเดอริก อพยพกำลังทหารที่เหลือออกจากไต้หวัน ไปที่ปัตตาเวีย (จาการ์ตา)
หลังจากนั้น โค-เยตต์ เฟรเดอริกถูกบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ตัดสินให้จำคุกตลอดชีวิตโทษฐาน "สูญเสีย" ไต้หวัน และถูกเนรเทศไปยังหมู่เกาะบอนดาของมาเลเซีย
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ค.ศ. 1674 โค-เยตต์ เฟรเดอริกได้รับการปล่อยตัวและเดินทางกลับเนเธอร์แลนด์
ความก้าวหน้า​ทางทหาร​ของ​ญี่ปุ่น​ และจีน
  • ​ค.ศ. 1543 ชาวโปรตุเกสได้อพยพไปยังเมืองทาเนงาชิมะและนำปืนเหล็กคาบศิลาไปจำหน่ายในญี่ปุ่น.
  • ​ค.ศ. 1548 จู วานแม่ทัพกองทัพหมิงเอาชนะสลัดโปรตุเกสและญี่ปุ่นได้ เรียนรู้เรื่องการผลิต ปืนคาบศิลาจากเชลยชาวญี่ปุ่น
  • ​#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
  • ​แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
โฆษณา