28 ส.ค. เวลา 11:26 • หนังสือ

ฟิวชัน​ = การเกิด​ * เต๋า​☯️ อ่อนจึงเกิดก๊าซ​ไฮโดรเจน​ แข็ง​จึง​เกิดแกนเหล็ก​ ดาวฤกษ์​ยุบตัว​#NP

ระบบสุริยะ​ก่อตัวขึ้น เมื่อ 4.568 พันล้านปีก่อน​ จากการยุบตัวด้วยแรงโน้มถ่วง​ของเมฆโมเลกุล​ กลุ่มฝุ่น แก๊สไฮโดรเจน และพลาสมาในอวกาศ ขนาดใหญ่
ระหว่างดาวขนาดยักษ์
มวลสารทำให้แรงของสองสิ่งดึงดูดซึ่งกันและกัน
หรือการล่มสลายของเนบิวลา (ไม่เกิดฟิวชัน = การดับ คล้อยตามเต๋า☯️คืนสู่ความว่าง​ เต๋า​☯️​)
แข็งเกินไปเป็นแกนเหล็ก
จึงหยุดฟิวชัน ระเบิดกลับไปเป็นฝุ่นและแก๊ส*เต๋า☯️ ให้กำเนิด ดาวฤกษ์และหลุมดำ)
สรรพสิ่ง/สรรพชีวิตเกิดดับเป็นไปตามธรรมชาติ
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
จวงจื่อ​ กล่าว​ว่า​ ทิศทั้งสี่ด้านบนและด้านล่างเรียกว่าจักรวาล
ทั้ง​อดีตและปัจจุบันเรียกว่าจักรวาล​ (กว่า​ 2,300​ ปี​มาแล้ว)​ แสดงถึงความไม่มีที่สิ้นสุดและความลึกของอวกาศและเวลา
จวงจื้อ​กล่าว​ว่า​
“เต๋าเป็นบ่อเกิดของทุกสิ่ง
ผู้ที่สูญเสียเต๋า​☯️​ย่อมดับ
และผู้ที่ได้เต๋า​☯️​ มีชีวิตรอด
หากฝืนเต๋า​☯️​ ย่อมล้มเหลว และหากปฏิบัติตาม เต๋า​☯️​ย่อมประสบความสำเร็จ”
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
1
จวงจื่อ กล่าวว่า ทิศทั้งสี่ด้านบนและด้านล่างเรียกว่าจักรวาล ทั้งอดีตและปัจจุบันเรียกว่าจักรวาล (กว่า 2,300 ปีมาแล้ว)
เล่าจื้อ​ กล่าวว่า​
"มีหลายสิ่งที่ปะปนกัน
โดยกำเนิดจากสวรรค์และโลก โดดเดี่ยวและโดดเดี่ยว
เป็นอิสระ และไม่เปลี่ยนแปลง" เคลื่อนที่ได้ไม่ตาย
และเป็นแม่ของโลกได้
ไม่รู้ชื่อ แต่เรียกมันว่า "เต๋า"
เล่าจื้อ​กล่าวว่า​
"เต่าให้กำเนิดหนึ่ง ให้กำเนิดสอง สองให้กำเนิดสาม
และสามให้กำเนิดทุกสิ่ง
ทุกสิ่งมีหยิน
และโอบกอดหยาง
และเรียกเก็บชี่เพื่อความสามัคคี...
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ
สัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์กล่าว​ว่าความโน้มถ่วงไม่ใช่แรง แต่เป็นความบิดโค้งของปริภูมิเวลาที่เกิดจากมวล
เช่น​ ลูกบอลโลหะ​ที่วางบนแผ่นยางที่ขึงตึง
แผ่นยางเสมือน​โครงข่ายของปริภูมิเวลา
มวลของลูกบิลโลหะ​กดแผ่นยางบุ๋มลง​ และดึงแผ่นยางบริเวณข้างเคียงให้บิดโค้ง
ลองใส่บอลลูกเล็กลงไปใกล้​ ๆ
มวลนั้นก็จะเบี่ยงเบนทิศทาง
ตีโค้งเข้าหาลูกบอลโลหะ​
การเบี่ยงเบนนี้ไม่ได้เกิดจาก
ลูกบอลโลหะดูด
แต่เป็นเพราะบอลลูกเล็กไหลไปตามความลาดโค้งของแผ่นยาง
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
อันตรกิริยาใด ๆ ในเอกภพย่อมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เกินความเร็วแสง ความโน้มถ่วงจึงไม่ใช่สนามคงตัว
แต่เป็นการแผ่ออกจากมวลโดยมีความเร็วจำกัด
นั่นคือความเร็วแสง
การโก่งตัวของแสงในสนามโน้มถ่วงทำให้เกิด
ปรากฏการณ์ เลนส์โน้มถ่วง​ เนื่องจากกาล-อวกาศบิดเบี้ยวใกล้กับวัตถุท้องฟ้าขนาดใหญ่ แสงจึงโค้งงอเมื่อผ่านเข้าใกล้วัตถุท้องฟ้าขนาดใหญ่
#ไอนสไตน์​#
สมมติ​ว่ามีเทห์ฟากฟ้าขนาดใหญ่เป็นเส้นตรงจากผู้สังเกตไปยังแหล่งกำเนิดแสง
ผู้สังเกตจะเห็นภาพหนึ่งภาพ
หรือมากกว่า​
โดยภาพ​นั้น​ เกิดจากการโค้งงอของแสง เรียกว่าปรากฏการณ์เลนส์โน้มถ่วง
#ไอนสไตน์​#
ดังนั้นเมื่อวัตถุมีมวลนั้นเคลื่อนที่ ความบิดโค้งของปริภูมิเวลา
จะเปลี่ยนแปลงไป
ตามการแผ่ออกจากมวลที่เคลื่อนที่​
และมวลมีการเคลื่อนที่เร็วพอ ความเปลี่ยนแปลงของความบิดโค้ง​ จะปรากฏในลักษณะของระลอกคลื่นบนปริภูมิเวลา
มีระยะทางเดินแผ่ออกไปด้วยความเร็วแสง
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ปี 1911 ไอน์สไตน์เสนอว่าแสงจากดวงดาวที่อยู่ไกลออกไปจะเบี่ยงเบนไปเล็กน้อยเมื่อมันผ่านพื้นผิวดวงอาทิตย์
ได้รับ​การพิสูจน์​เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 1919​
นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เอ็ดดิงตัน
ทีมหนึ่ง​สังเกต​สุริยุปราคาเต็มดวงบน​เกาะปรินซิปี (Principe) แอฟริกาตะวันตก
ทีมสองสังเกตสุริยุปราคาเต็มดวงที่ประเทศบราซิล
ข่างภาพ​ของ​ทั้งสองทีมสังเกตสุริยุปราคาเต็มดวงเป็นเวลา 6 นาที​ จนได้ถ่ายภาพที่ชี้ถึงการบิดโค้งเล็กน้อยของลำแสงจากดาวฤกษ์​​ เมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ข้อสังเกตดังกล่าว​ยืนยันผล ของเลนส์โน้มถ่วง
วัตถุที่อยู่ตรงกลางที่ทำให้เกิดเอฟเฟกต์เลนส์โน้มถ่วงเรียกว่าวัตถุตั้งต้น
เอฟเฟ็กต์นี้อาจสร้างภาพซ้อนหรือหลายภาพที่มีโครงสร้างสเปกตรัมและการเลื่อนเส้นเหมือนกัน
ภายใต้สถานการณ์พิเศษ ภาพถ่ายของเทห์ฟากฟ้าที่อยู่ห่างไกลอาจก่อตัวเป็นวงแหวนไอน์สไตน์
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ปรมาจารย์​เล่าจื้อ​กล่าว​ต่อ​ว่า
มีหลายสิ่งปะปนกัน... โดดเดี่ยว​และโดดเดี่ยว​ อนุมาน​แทนด้วยอนุภาค​มูลฐาน​
เป็นอิสระ​และ​ไม่เ​ปลี่ยนแปลง, อนุภาค​มูลฐาน​เคลื่อนที่​ได้ไม่ตาย... และ​เป็น​มารดา​ของโลก​ได้
สรรพสิ่ง​ใน​โลก​รวมทั้งโลก​เกิดจากอนุภาค​มูลฐาน
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ
ขีดจำกัดที่ดาวฤกษ์ที่ไม่หมุนรอบตัวเอง​ (ขีดจำกัด Chandrasekhar)​
ทุกสิ่ง​มีความอ่อน​จึงอยู่​ยง​ ความอ่อน​อวบกอดความแข็ง... ทุกสิ่ง​แรกเริ่ม​เป็นจานพอกมวลฝุ่นและแก๊ส​ คงความอ่อน​ยืนยง​ ต่อมาฝุ่น​และแก๊ส​อวบกอดอัดแน่นรวมตัวเป็นความแข็ง​ เช่น​ ดิน​ หิน​ แร่ธาตุ
เกิดชี่พลังงาน​ และสามมัคคี​ คือรวมเป็นหนึ่ง​เดียว​กับ​เต๋า​☯️
เกิดดวงดาว​ กาแล็กซี​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ดาวฤกษ์ 3 ดวง​ จากอภิปรัชญา​ปรมาจารย์​เล่าจื้อ​ เต่าให้กำเนิดหนึ่ง ให้กำเนิดสอง สองให้กำเนิดสาม​ ดาวฤกษ์​ทั้งสามดวงต่าง​ก็​มี​พลังงานจลน์​แตกต่าง​กัน​ พลังงาน​จล​น์​กลายเป็น​พลาสมาถ่ายเท​พลังงาน​ให้ดาวฤกษ์​ 2 ดวง​มีขนาด​มวลพอ​ ๆ​ กัน​ เกิดสมดุล​เต๋า​☯️​และ​ของ​อี้จิ้ง​☯️​ กลายเป็น​ดาว​ฤกษ์​คู่โคจร​ ส่วนดาวฤกษ์ดวงที่สามมีมวลน้อยกว่า จะถูกแรงผลักออกไปจากกลุ่ม​ ซึ่ง​ดาวฤกษ์​ดวง​ที่สาม​ จะให้กำเนิด​สิ่งต่าง​ต่อไป​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ
เต่าให้กำเนิดหนึ่ง ให้กำเนิดสอง สองให้กำเนิดสาม
และสามให้กำเนิดทุกสิ่ง
เมื่อดาวฤกษ์​คู่โคจร​ ถูกนิวตรอนหรือหลุมดำซึ่ง​มีมว​ลมาก​กว่า​โคจรเข้ามา​ เป็น​ 3 ดวง​ เกิดอันตรกิริยาแรงโน้มถ่วง ทำให้​ดาวฤกษ์​ที่มีมวลน้อยที่สุด​ ถูกผลักออก​ เป็น​ดาวทวิลักษณ์
เช่น​ นิวตรอน-ดาวฤกษ์​
หรือหลุมดำ-ดาวฤกษ์​ ส่วน​ดาวฤกษ์​มวลน้อย​ก็ก่อเกิดสิ่งต่าง​ ๆ​ ต่อไป​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ในทางทฤษฎี​ เมื่อ​ หยินหยาง​ปะทะ​กัน​มีทั้ง​สร้างสรรค์​และ​ทำลาย​ล้าง​ เช่น​
การสร้าง​สรรค์​ : ดาวฤกษ์​ 2 ดวง​ มีมวลเท่ากัน​ โคจรมาปะทะ​กัน​ จะหลอมรวมกันเป็นดาวฤกษ์ดวงใหม่​ มีความ​สว่างเท่าเดิม​
การทำลายล้าง​ :
ดาวนิวตรอนปะทะ​ดาวฤกษ์​
หลุมดำปะทะ​ดาวฤกษ์
ดาวนิวตรอน​&หลุมดำ​ มีมว​ลมาก​กว่า​จะดูดดาวฤกษ์ด้วยสนามโน้มถ่วงที่ความเข้มสูง​ทำให้ดาวฤกษ์​บิดเบี้ยวเสียรูป​ (tidal capture)​ กลายเป็น​พลาสมาแล้ว​ปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
สนามแม่เหล็กโลก >> ทุกสิ่งมีหยิน และโอบกอดหยาง และเรียกเก็บชี่พลังงาน เพื่อความสามัคคี เป็นหนึ่งเดียวกับเต๋า☯️ #นฤพนธ์เพ็งอ้นแปลเรียบเรียงและตีความ
ดังนั้น สิ่งต่าง ๆ อาจได้รับความเสียหาย​
(ทวิลักษณ์​หักล้าง)​
และได้รับประโยชน์
(ทวิลักษณ์​เสริมสร้าง)​
หรืออาจได้รับผลประโยชน์และเสียหาย"
(ทวิลักษณ์เสริมสร้าง​และหักล้าง)
เอกภพ​จะมีทวิลักษณ์​ที่เด่นชัด​ เช่น​ การชนกันระหว่างดาวนิวตรอนคู่​ หรือ​กิโลโนวา (Kilonova)
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
เล่าจื้อ​กล่าวว่า​ “มีจุดเริ่มต้น,
มีจุดเริ่มต้น​ กับ​ไม่มีจุดเริ่มต้น,
ไม่มีจุดเริ่มต้น กับมีจุดเริ่มต้น,
มีความมีอยู่ กับมีความไม่มีอยู่
มีความไม่มีอยู่​ กับ​จุดเริ่มต้น "
ในระบบเฉื่อย ใด ๆ​ ในเอกภพ​
ความเร็วของแสง แทนด้วยสัญลักษณ์​c ในสุญญากาศจะเท่ากันคือ 299,792,458 m/s​(ความคงที่ของความเร็วแสงในสุญญากาศ)​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ปรมาจารย์​เล่าจื้อ​กล่าวว่า​
"ความมีอยู่​ ความ​มีชีวิต การดำรงชีพ" เช่นนั้น
แต่ก็มี "ไม่มีอะไร" เช่นกัน
มี กับ​ "ไม่มีอะไร"
สิ่ง​ที่ไม่เคยมีมาก่อน
และยังมี "ไม่มีอะไร"
ที่ไม่เคยมีมาก่อน
มีจักรวาลอื่น
อยู่ก่อนการกำเนิดของจักรวาล
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ปัจจุบัน​สันนิษฐาน​ว่า​
ก่อนเกิด​บิ๊กแบง​
ก็มีจักรวาล​อยู่​ก่อนแล้ว
เช่น​ ดาวฤกษ์​เมธูเสลาห์ Methuselahห่างโลก​ 202 ปีแสง​ มีอายุ>14,600 ล้านปี​> เอกภพ​ มี​ อายุ​> 13,820 ล้านปี​ Methuselah มีธาตุไฮโดรเจนที่อยู่ภายในดาวฤกษ์​ กำลังเปลี่ยนเป็นฮีเลียม​ ทำให้ตรวจจับ​ยากขึ้น
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
แรงทั้งห้าในจักรวาล แรงและพลังงานอี้จิ้ง☯️ 1. น้ำ (พลังงานศักย์ด้านบนลงสู่ พลังงานด้านล่าง) 2. แสงสว่าง (พลังงานจลน์ศูนย์กลางด้านล่างสู่พลังงานด้านด้านบน) 3. ไม้ (พลังงานและพลังงานที่แผ่ออกไปด้านนอก) 4. ทองคำและธาตุ (พลังงานและพลังงานที่บรรจบกันภายใน) 5. ดิน (พลังงานและพลังงานที่สมดุลและมั่นคง) #นฤพนธ์ เพ็งอ้น แปลเรียบเรียงและตีความ
เต๋า☯️ เป็นกลไกดำเนินงานเชิงวิวัฒนาการของทุกชีวิตในโลก, เต๋าคือสิ่งที่มีแก่นสาร
และมีศรัทธา
เต๋า☯️ เป็นผู้กำหนด "ความมีอยู่" หรือ "ความว่างเปล่า"
ของสรรพชีวิต
เต๋า☯️ คือ การดำรงอยู่
ของ "ชีวิต" หรือ "ความตาย" ของสิ่งมีชีวิต
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ​
ดังนั้น​ เต๋า​☯️​เปรียบ​ได้ดั่งน้ำ​ ที่อ่อนนุ่ม​ จึงมีชีวิต​ยืนยาว​
ไม้ที่อ่อนนุ่ม​จึงมีขีวิต​ยืนยาว​
ไม้แข็ง​ไร้ใบผุพังตามกาลเวลา​
ขนมปังและข้าว​ที่อ่อนนุ่มเป็นอาหาร​ที่สำคัญ​ต่อสรรพชีวิต,ขนมปังและข้าวที่แข็งไม่เหมาะ​สมกับการบริโภค​ หากบริโภค​จักเกิดอันตราย​ต่อฟัน​และระบบทางเดินอาหาร​
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ​
แถบดาวเคราะห์น้อย (asteroid belt) ถึงดวงอาทิตย์ มีดาวเคราะห์หิน 4 ดวง ได้แก่ พุธ ศุกร์ โลก อังคาร รวมเป็น 5 ธาตุของอี้จิ้ง☯️ ให้กำเนิดสรรพชีวิต #นฤพนธ์เพ็งอ้นแปลเรียบเรียงและตีความ
ในเอกภพ​ โลก​เท่านั้น​ ที่มีธาตุ​ุไม้​ ดังนั้น​โลก​จึง​ให้กำเนิด​มีชีวิต​ เต๋า​☯️​ให้​ความสำคัญ​กับอู๋เหวย​ คือการอ่อนน้อม​ถ่อมตน​ ในที่นี้​ ข้าพเจ้า​ขอแทนตนเอง​ว่า​ เป็น​ดวงดาวที่โคจรเป็น​ระเบียบ​ในเอกภพ​ เป็นหนึ่ง​ด้วยตนเอง​แต่มิเคยโอ้อวด​ พลังงาน​การเคลื่อนไหว​ของตนเอง​ เคลื่อนที่​ไปในเอกภพ​ โดยไร้เยื่อใย​ ไร้​เยื่อใย​ คือ​ สู่จุดศูนย์กลาง​ หรือ​สมดุล​ ☯️​ ดาวฤกษ์​จึงเป็นผู้​นำการปกครอง​วงโคจร​ของตนเอง​ ดาวเคราะห์​ก็มีวงโคจร​ของตนเอง​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
ผู้เขียน​
จากรูป​
ดวงอาทิตย์​ แทน​ธาตุแห่ง​แสงสว่าง
โลก​ แทนธาตุ​ไม้​ เพราะ​โลก​คือหนึ่ง​เดียว​ในเอกภพ​ ที่มีธาตุไม้​ ดังคำกล่าว​ของ​ปรมาจารย์​เล่าจื้อ​ คน, โลก, เอกภพ, เต๋า​☯️ และ​ธรรมชาติ​ ยิ่งใหญ่​ ทั้ง​นี้โลกยิ่งใหญ่​เพราะ​มีธาตุ​ไม้
#นฤพนธ์​เพ็งอ้น​
อ้างอิง​จาก​คัมภีร์​เต้า​เต๋อ​จิง​☯️
ดาวศุกร์​ แทนธาตุ​น้ำ​
เนื่องจาก​ดาวศุกร์​มีเมฆไอน้ำ​
บนชั้นบรรยากาศ​จำนวน​มหาศาล
ดาวอังคาร​ แทนธาตุ​ดิน​
จากการ​สำรวจ​โดยรถแลนด์​โรเวอร์​
เก็บตัวอย่าง​หินและดินบนดาวอังคาร
ดาวพุธ​ แทนธาตุ​ทอง​
ซึ่ง​ ดาวพุธ​ หมายถึง​ ธาตุ​ปรอท​ ซึ่ง​เป็น​ธาตุ​โลหะ​หนัก​ ซึ่ง​ในทาง​ทันตกรรม​ ใช้อะมัลกัม (amalgam) ทอง+ปรอท​ เป็นสารเฉื่อย​ เพื่อ​อุดฟัน​
ด้วยวัสดุอมัลกัม (Traditional Amalgam Fillings)
และ​สารปรอทใช้สำหรับร่อนทอง​ สารปรอทแยกตัวไม่ได้จับกับทองคำ
#นฤพนธ์​ ​เพ็งอ้น
อ้างอิง​จาก​คัมภีร์​อี้จิ้ง​ ☯️​
อี้จิ้ง​☯️​ บันทึก​ธาตุ​ทั้ง​ 5​ หมายถึง​ ธาตุ​ทั้งห้าบนโลก​มนุษย์เท่านั้น​ เพราะ​ไม้มีเฉพาะ​บนโลก​มนุษย์​ ดังนั้น​ ธาตุ​ทั้ง​ห้าของอี้จิ้ง​☯️​
จึง​ให้กำเนิด​สิ่งมีชีวิต​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
อ้างอิงคัมภีร์​อี้จิ้ง​☯️
สรรพ​ชีวิต​ทำไม​จึง​ต้อง​คล้อยตาม​เต๋า​☯️​ คล้อยตาม​ธรรมชาติ
เพราะ​ว่าเต๋าให้กำเนิด​หนึ่ง​ หนึ่ง​ให้​กำเนิด​สอง​ สอง​ให้กำเนิด​สรรพชีวิต​ ดังนั้น​หากต้องการ​เปลี่ยน​ชีวิต​เป็นอมตะ​เช่นเต๋า​☯️
ต้อง​เปลี่ยน​จากสรรพชีวิต​ ลดทอนเป็น​สาม​ จากสามลดทอนเป็น​สอง​ จากสองลดทอนเป็น​หนึ่ง​ จากหนึ่งซึ่ง​ใกล้​ชิดกับเต๋า​☯️​ เมื่อจิตหนึ่ง​เดียว​กับ​เต๋า​☯️​ย้อนคืนสู่เต๋า​☯️​ จึงเป็น​เต๋า​☯️​อมตะนิรันดร์กาล
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
อ้างอิง​จากคัมภีร์​เต้า​เต๋อ​จิง​☯️​
ธาตุ​ทองอาจ​เกิดจาก​ปฏิกิริยา​ของ​ธาต​ุทั้ง​ 3 ของ​อี้จิ้ง​☯️​
ทำปฏิกิริยา​ เช่น ดิน​ แสงสว่าง​ไฟฟ้า​ สารละลาย​
(ทองคำ มี เลขอะตอม สูงที่สุดใน บรรดาธาตุที่เกิดขึ้นตาม​ธรรมชาติ​ในเอกภพ)
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
1. นักวิทยาศาสตร์​สมมติ​ฐาน​ว่า​ ทองคำสร้างขึ้นจากการหลอมละลายของซูเปอร์โนวา​
เมื่อดาวนิวตรอน สอง ดวงชนกัน
ทำให้ทองคำกระจัดกระจายไปทั่วเอกภพ โดยก่อนเกิดระบบสุริยะ ทองคำได้กระจัดกระจายในจานฝุ่นแก๊ส ต่อมาก่อตัวเป็นดาวเคราะห์โลก จึงปรากฏทองคำอยู่บนโลก ธาตุทองจมลึกลงไปในโลก เมื่อเกิดแผ่นดินไหวดินชั้นที่มีทองคำกลับขึ้นมาใกล้พื้นผิวโลก
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
2. ดาวเคราะห์น้อยที่มีธาตุทอง​
พุ่งชนโลก​
(อี้จิ้ง​​☯️​ทองทำปฏิกิริยา​กับดิน)​
ทำให้ทองคำมีมากกว่าเดิม
เกล็ดเล็ก​ ๆ​ ถึง​ก้อนขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักได้ถึงหลายสิบกิโลกรัม 3. ทองคำไหลผ่านรอยแตกในเปลือกโลก​ซึ่ง​มีสารละลายไซยาไนด์​ ทำให้​ทองคำ​หลุดออกจาก​หินและดิน
ทองคำทำปฏิกิริยากับสังกะสี และกำมะถันจะแยกตัวออกจากสารละลายไซยาไนด์
เต๋า☯️เป็นอิสระไม่เปลี่ยนแปลงเดินไม่อันตราย (น้ำขึ้นน้ำลงจากดวงจันทร์)
เต๋า คือ ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติที่มาจากความไม่มีอะไร (มีกับไม่มีเกิดจากเต๋า☯️ เมื่อมีดับเกิดความไม่มี)
นำไปสู่ความว่างเปล่า (ไม่มีอะไรนำไปสู่ความว่างเปล่า = ย้อนหลังสู่ต้นกำเนิดเดิม = เต๋า☯️)
จากบางสิ่งไปสู่ความว่างเปล่า
ซ้ำแล้วซ้ำ (เกิด ดับ ว่างเปล่า เกิด ดับ ว่างเปล่า ๆๆๆ)
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
เต๋า☯️เป็นอิสระไม่เปลี่ยนแปลงเดินไม่อันตราย (น้ำขึ้นน้ำลงจากดวงจันทร์) #นฤพนธ์เพ็งอ้นแปลเรียบเรียงและตีความ
เต๋าเปรียบเหมือนว่า
"เต๋า" จะทำให้ทุกสิ่งเติบโต ไร้ทิศทาง​ กระทั่ง​หยุดเติบโต​แบบไร้ทิศทาง​ชั่วคราว.
อย่าพึ่งมัน ทุกสิ่ง​เติบโตโดยเต๋า​☯️​ไม่เคยขัดขวาง​การเติบโต​
หวูเว่ย หมายถึง การกระทำตามสถานการณ์และกระแสผ่านการคิดอย่างรอบคอบ
(ดาวเคราะห์มีแรงโน้มถ่วงกระทำ และไหลตามกระแสสนามโน้มถ่วงระหว่างดวงดาว = หวูเว่ย)
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
ดาวเคราะห์มีแรงโน้มถ่วงกระทำ และไหลตามกระแสสนามโน้มถ่วงระหว่างดวงดาว = หวูเว่ย=ดาวเคราะห์ไม่ต้องทำอะไรเลยเพราะยึดมั่นในเต๋าจึงโคจรไปรอบดวงอาทิตย์โดยไม่ต้องทำอะไรเลย #นฤพนธ์เพ็งอ้น แปลเรียบเรียงและตีความ
นั่นคือ
ดาวเคราะห์​โคจร​ตามดวงอาทิตย์​
ดวงอาทิตย์​โคจรตามกาแล็กซี​ทางช้างเผือก​ ฯลฯ​
เพื่อให้สิ่งต่าง ๆ ในเอกภพ​คงไว้
ตามธรรมชาติ
โดยไม่ต้องประดิษฐ์
จึงบรรลุเป้าหมายเต๋า​☯️​
" ไม่ทำอะไรเลย
โดยไม่ทำอะไรเลย
" วงโคจรของ​ดาวเคราะห์​รอบดวงอาทิตย์ก็เป็นเช่นนั้นนิรันดร์ โดยไม่ต้องทำอะไรเลย = หวูเว่ยเต๋า​☯️​ปฏิบัติตามกฎธรรมชาติ
ที่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา​
เพื่อให้สิ่งต่าง ๆ ในเอกภพ​
คงไว้ซึ่งธรรมชาติ​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
หวูเว่ย ปฏิบัติตามกฎธรรมชาติ ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้สิ่งต่าง ๆ คงไว้ซึ่งธรรมชาติ
แรงโน้มถ่วงตามธรรมชาติ
ดึงดูดฝุ่นและแก๊สไฮโดรเจน หนาแน่น มีมวลมาก
แรงโน้มถ่วงมาก
ความดันสูง อุณหภูมิสูง
เกิดปฏิกิริยาฟิวชั่น
กลายเป็นดวงอาทิตย์
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
การเกิดดับ​เป็นวัฏจักร​ของเอกภพ​ เนบิวลา​ กำเนิด​จาก
ดาวฤกษ์ที่แกนภายในแข็งเป็น​แกนเหล็ก​ ไม่สามารถ​ฟิวชัน​ได้
(ฟิวชัน​ = การเกิด​ คล้อยตาม​ เต๋า​☯️)​
ดวงดาวฤกษ์ต่าง ๆ เกิดการระเบิด​เป็นฝุ่นและเศษซากต่าง ๆ ฝุ่น​และเศษ​ซากต่าง​ ๆ​ ก็จับตัวกันเป็นเนบิวลา
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
เนบิวล่า​ มี​ 2 ชนิด​ สว่าง​ และมืดตามผู้สังเกตุ​บนพื้น​โลก​
1. เนบิวลาสะท้อน​แสง
(Reflection nebula) มีสีฟ้า, สีน้ำเงินจากการสะท้อนแสงของดาวที่อยู่ข้างเคียง 
2. เนบิวลาปล่อยแสง
(Emission nebula)
เกิดการกระตุ้นด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตจากดาวฤกษ์​ข้างเคียง ปล่อย​แสงในช่วงคลื่นตาม​แก๊สองค์ประกอบ​ของเนบิวลา
มีสีต่าง ๆ กัน
สีแดงจากแก๊สไฮโดรเจน
สีเขียวจากแก๊สออกซิเจน
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ดวงอาทิตย์​มีมวลมากกว่า​ 99% ในระบบสุริยะ ทำให้อวกาศโค้งรอบดวงอาทิตย์​ ☯️
เป็นศูนย์กลางของแรงโน้มถ่วง​ ในระบบสุริยะ​
ตำนาน​ผานกู​ แบ่งฟ้าดิน
=แถบดาวเคราะห์​น้อย​
ดิน​ = ดาวเคราะห์​ดิน(หิน)​
ในระบบสุริยะ​ชั้นใน​แถบดาวเคราะห์​น้อย
ฟ้า​ = ดาวเคราะห์ฟ้า(แก๊ส)​
ในระบบสุริยะ​ชั้นนอกแถบดาวเคราะห์​น้อย​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ดาวเคราะห์​ในระบบสุริยะชั้นใน
มีดาวเคราะห์ ขนาด เล็ก สี่ดวง
ได้แก่ดาวพุธ​ ดาวศุกร์​ โลกและดาวอังคาร
เรียกว่าดาวเคราะห์​ ธาตุ​ดินและทอง​ ยกเว้น​ โลก​มีธาตุ​ไม้หนึ่ง​เดียว​ในเอกภพ​
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
ดาวเคราะห์ในเอกภพมี ธาตุดินและทอง ยกเว้น โลกมีธาตุไม้หนึ่งเดียว ในเอกภพ #นฤพนธ์เพ็งอ้นแปลเรียบเรียงและตีความ
ดาวเคราะห์​ 8​ แปดดวงในระบบสุริยะ​ สามารถ​จัดเรียง​ได้​ 8​ ทิศ​ โดย​มีวงกลม​คล้ายดวงอาทิตย์​อยู่​ตรงกลาง​ สมดุล​☯️,
ขาวแบ่งเส้นตัว​ S​ กับดำ,
ในขาวมีดำ​ ในดำมีขาว
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น​
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ดาวเคราะห์สี่ดวงชั้นนอก​
อยู่​เลยแถบดาวเคราะห์น้อย
(asteroid belt)
เรียกว่าดาวเคราะห์ยักษ์
และมีมวลมากกว่าสี่ดวงชั้นใน
ดาวพฤหัสและดาวเสาร์ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์ทั้งสองดวง ที่มีส่วนประกอบหลักคือไฮโดรเจนและฮีเลียม
ดาวเคราะห์ชั้นนอกสุดสองดวงคือดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนเป็นดาวยักษ์น้ำแข็ง ซึ่ง​ระเหยง่าย โดยมีจุดหลอมเหลวสูงกว่าไฮโดรเจนและฮีเลียม​ เช่น​
น้ำแอมโมเนียและมีเทน
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ
วัตถุในแถบคอยเปอร์​ เป็น​หินปนน้ำแข็ง มีวงโคจรอยู่ถัดจากดาวเนปจูน​ ดังนั้น​ จึง​เป็น​เสมือน​เขตรั้วของดาวเคราะห์​ทั้งแปดดวง
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ดาวเคราะห์ทั้งแปดโคจรรอบดวงอาทิตย์ ดุจแผนผังแปดทิศของอี้จิ้ง☯️ #นฤพนธ์เพ็งอ้น
ระบบของสุริยะ​ 🆚 ผังอี้จิ้ง​☯️​
ดาวฤกษ์ 1 ดวง
ดวงอาทิตย์
ดาวเคราะห์ 8 ดวง
พุธ
ศุกร์
โลก
อังคาร
พฤหัสบดี
เสาร์
ยูเรนัส
เนปจูน
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ระบบของสุริยะ 🆚 ผังอี้จิ้ง☯️#นฤพนธ์ เพ็งอ้น แปลเรียบเรียงและตีความ
ดาวเคราะห์แคระ
(Dwarf planets)
มีวงโคจร
ไม่แน่ชัดเป็นวงรี ซ้อนทับกับวงโคจรดาวเคราะห์อื่น และไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูด และวงโคจรของวัตถุต่างๆ เช่น
1. ซีเรส หินและน้ำแข็ง ไอน้ำ
ไร้ชั้นบรรยากาศ
2. พลูโต พื้นผิวปกคลุมด้วยน้ำแข็ง มีดวงจันทร์บริวาร 5 ดวง ไม่มีวงแหวนแบบดาวเสาร์
3. เฮาเมอา มีธาตุคาร์บอนและน้ำแข็ง เป็นองค์ประกอบหลัก
เฮาเมอามีดวงจันทร์บริวาร 2 ดวง
4. มาคีมาคี พื้นผิวเป็นมีเทนและอีเทนแข็ง มีไนโตรเจนในชั้นบรรยากาศ
5. อีรีส พื้นผิวเป็นของแข็งและน้ำแข็ง
​ลมสุริยะเป็นกระแสของอนุภาค
มีประจุที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดบริเวณคล้ายฟองในวัสดุระหว่างดวงดาว ปะทะกับตัวกลางระหว่างดวงดาวและหยุดนิ่ง
เรียกว่าเฮลิโอสเฟียร์
เฮลิโอพอสคือจุดที่ความดันของลมสุริยะและวัตถุระหว่างดวงดาวเข้าสู่สภาวะสมดุล ☯️​
และขยายไปจนถึง "ฟอง"
น้ำแข็ง​ หิน​ แอมโมเนีย​และฝุ่นขนาดยักษ์ล้อมรอบระบบสุริยะ​
เรียกว่า​ขอบของ ดิสก์ไดเวอร์เจนต์เมฆออร์ต​ เป็น แหล่งกำเนิดของ ดาวหางคาบยาว
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
เฮลิโอพอสคือจุดที่ความดันของลมสุริยะและวัตถุระหว่างดวงดาวเข้าสู่สภาวะสมดุล ☯️ และขยายไปจนถึง "ฟอง" น้ำแข็ง หิน แอมโมเนียและฝุ่นขนาดยักษ์ล้อมรอบระบบสุริยะ เรียกว่าขอบของ ดิสก์ไดเวอร์เจนต์เมฆออร์ต #นฤพนธ์ เพ็งอ้นแปลเรียบเรียงและตีความ
ก่อนระบบสุริยะ มันถูกเรียกว่าเนบิวลาก่อนสุริยะ สันนิษฐาน​ว่ามีเม็ดฝุ่น​เป็น​ส่วนหนึ่ง​ในองค์​ประกอบ​ เพราะว่า​พบเม็ดฝุ่นขนาด 8 ไมโครเมตร​ ซึ่ง​ผ่านรังสีคอสมิก​ในอวกาศ​ การหาปริมาณของไอโซโทปฮีเลียม-3 (He-3) และนีออน-21 (Ne-21) มีอายุ​ 7.5 พันล้านปี​ จากอุกา​บาต​ในออสเตรเลีย
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
(presolar nebula การหมุนของเนบิวลาเร็วขึ้น หดตัวหมุนเร็วขึ้นเรื่อย ๆ และมันเริ่มแบน ยุบตัวพังทลายเนื่องจากแรงโน้มถ่วง กลายเป็นดาวที่มีจานรวมมวล จากนั้นดาวเคราะห์ต่าง ๆ
จะควบแน่นจากการแข็งตัว
ของอนุภาคฝุ่นกลายเป็นวัตถุที่มีขนาดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ)
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
ดาวเคราะห์ชั้นใน​แถบดาวเคราะห์​น้อย​
ก่อตัวขึ้น จากการสะสมมวลสาร
ในแถบดาวเคราะห์​น้อย​
ซึ่ง​มีแรงดึงดูดของฝุ่นและก๊าซ
คล้ายธาตุทั้งห้าของอี้จิ้ง☯️ สร้างและหักล้างไปมา
เกิดดวงดาว ควบแน่นกลายเป็น
ดาวเคราะห์ก่อกำเนิดหลายร้อยดวงในยุคแรก ๆ
ของระบบสุริยะ
รวมตัวกันหรือถูกทำลาย
เหลือดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์แคระ
และวัตถุขนาดเล็ก
โลหะมีจุดหลอมเหลวสูง
คงสถานะแข็ง​ระบบสุริยะชั้นใน
ต่อมา​ก่อตัวเป็นดาวเคราะห์หิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
และดาวอังคาร
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
แรงดึงดูดของฝุ่นและก๊าซ คล้ายธาตุทั้งห้าของอี้จิ้ง☯️ สร้างและหักล้างไปมาเกิดดวงดาว ควบแน่นกลายเป็น ดาวเคราะห์ก่อกำเนิดหลายร้อยดวงในยุคแรก ๆ ของระบบสุริยะหลังการหักล้างของธาตุทั้งห้าระบบสุริยะชั้นใน ก่อตัวเป็นดาวเคราะห์หิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร #นฤพนธ์ เพ็งอ้น แปลเรียบเรียงและตีความ
แถบดาวเคราะห์​น้อย​ คือ
เส้นเยือกแข็งอยู่ระหว่าง
ดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี จึงเกิดเส้นแบ่งดาวเคราะห์หินกับเาวเคราะห์แก๊ส คล้ายเส้นแบ่งหยินหยาง ☯️
ดาวเคราะห์ยักษ์
(ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน)
ก่อตัวขึ้นนอกเส้นเยือกแข็ง อุณหภูมิที่นี่ต่ำมาก
และวัสดุที่ระเหยได้สามารถดำรงอยู่ในสถานะของแข็งได้
มีน้ำแข็งมากกว่าโลหะ
และซิลิเกต
เส้นเยือกแข็งแบ่งหยินหยาง☯️
ดาวเคราะห์หลัง​เส้นเยือกแข็ง​แถบดาวเคราะห์​น้อย​ ​มีขนาดใหญ่ขึ้นและกักเก็บไฮโดรเจนและฮีเลียมจำนวนมาก
เป็นองค์ประกอบที่มีมากที่สุดในระบบสุริยะ
วัสดุในระบบสุริยะที่ไม่สามารถก่อตัวดาวเคราะห์ได้กระจุกตัวอยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยแถบ
ไคเปอร์และบริเวณเมฆออร์ต
#นฤพนธ์​ ​เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ
50 ล้านปีแรก
ณ ใจกลางดาวฤกษ์
ก่อนเกิดระบบสุริยะ
ไฮโดรเจนมีความหนาแน่นและความดัน อุณหภูมิ อัตราการเกิดปฏิกิริยา มากพอทำให้เกิดปฏิกิริยาอย่างเลวร้ายหรือรุนแรง ดั่งขุมอเวจี:
ไฮโดรเจนเพิ่มขึ้นจนกระทั่ง
ความดัน, ความร้อนของของไหล
ชดเชยแรงโน้มถ่วง
จนถึงสถานะสมดุลสถิต (สมดุลเต๋า☯️)
ณ จุดศูนย์กลางนี้ ดาวฤกษ์กำเนิดเป็นดวงอาทิตย์ ตั้งแต่ต้นจนจบ นับระยะเวลาได้ 1 หมื่นล้านปี (ปฏิกิริยาอย่างเลวร้ายหรือรุนแรง ดั่งขุมอเวจี)
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
ในขณะที่ระยะอื่น ๆ ทั้งหมด
รวมทั้งช่วงชีวิตของเศษซากนั้น รวมทั้งหมดเพียง 2 พันล้านปี​
ลมสุริยะจากดวงอาทิตย์
ก่อตัวเป็นเฮลิโอสเฟียร์
(ฟองในวัสดุระหว่างดวงดาว​ ปะทะกับตัวกลางระหว่างดวงดาวและหยุดนิ่ง​ = สมดุล​ของ​เต๋า​☯️​)​
และพัดก๊าซและฝุ่นที่ตกค้างจากดิสก์(จานมวลรวม)​
ก่อกำเนิดดาวเคราะห์
ออกสู่อวกาศระหว่างดวงดาว
การพัฒนาของดาวเคราะห์ถึง​ที่สุด​(สมดุล​เต๋า​☯️)​
เป็น​ดาวเคราะห์​ 8​ ดวง​
โคจรรอบ​ดวงอาทิตย์
ในยุคแรก​ ๆ ดวงอาทิตย์​สว่าง​เพียง 70% ของความสว่างในปัจจุบัน
ดวงอาทิตย์จะยังคงอยู่ในสถานะปัจจุบันจนกว่าไฮโดรเจนที่อยู่ใจกลางจะเปลี่ยนเป็นฮีเลียมอย่างสมบูรณ์ภายในห้าพันล้านปี
นี่ถือเป็นการสิ้นสุดของดวงอาทิตย์​ (แต่ไม่ระเบิด)​
แกนกลางฮีเลียม​ของดวงอาทิตย์
เริ่มพังทลายลง
และพลังงานที่ส่งออกไปก็มีมากกว่าปัจจุบัน
เมื่อ​แกนกลางฮีเลียม​ของดวงอาทิตย์​ เริ่มพังทลายลง
เส้นผ่านศูนย์กลางของชั้นนอกสุดของดวงอาทิตย์จะขยายพื้นที่ผิวเป็นประมาณ 260 เท่าของขนาดปัจจุบัน
และดวงอาทิตย์จะกลายเป็น
ดาว ยักษ์แดง​
อุณหภูมิของพื้นผิวดวงอาทิตย์​ ต่ำกว่าอุณหภูมิของดาวฤกษ์
โดยเฉลี่ย​
(อุณหภูมิ​ต่ำสุดคือประมาณ 2,600 เคลวิน = 2,326.85 เซลเซียส)
ดวงอาทิตย์พ่นแก๊สขยายตัวถึงดาวพุธ
สภาพแวดล้อมของโลกอยู่ไม่ได้
ในที่สุด อุณหภูมิของแกนดวงอาทิตย์ทำให้แกนกลางฮีเลียมหลอมละลาย
การสันดาปฮีเลียมและไฮโดรเจน
เมื่อ​มวลของดวงอาทิตย์ไม่เพียงพอ​ ทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิวชันของธาตุที่หนักกว่าไฮโดรเจน
และฮีเลียม ปฏิกิริยาธาตุหนักกว่า​ ฮีเลียม​ในแกนกลางของดวงอาทิตย์​ ฟิวชันจะอ่อนลง
วัสดุชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะกระจายไปในอวกาศ
ส่วนที่เหลือ ก่อตัวเป็นดาวแคระขาว มีความหนาแน่นสูง
แต่​มีมวลครึ่งหนึ่งของดวงอาทิตย์
มีปริมาตรใกล้เคียงกับมวล
ชั้นนอกที่หลุดออกไป
ก่อให้เกิดเนบิวลาดาวเคราะห์ โดยส่งสสารบางส่วน
ที่ประกอบเป็นดวงอาทิตย์
กลับคืนสู่อวกาศระหว่างดวงดาว
และมีธาตุ​ที่หนั​กกว่า​ฮีเลียม​ เช่น​ คาร์บอน​
(การกลับคืนสู่ธรรมชาติ​ เต๋า​☯️)
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
สนามแม่เหล็กของโลกป้องกัน
ไม่ให้ ชั้นบรรยากาศของโลก
ถูกลมสุริยะดึงออกไป
ตรงกัน​ข้ามกับ​
ดาวศุกร์และดาวอังคาร
ไม่มีสนามแม่เหล็ก
ดังนั้นลมสุริยะจึงทำให้บรรยากาศ หายไปในอวกาศ
และสนามแม่เหล็กจำนวนมากออกจากพื้นผิวดวงอาทิตย์​
เกิดประจุอนุภาคเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก
ทำให้เกิดแสงออโรรา
ใกล้กับขั้วแม่เหล็ก
สนามแม่เหล็กของโลก เสมือนเต๋า☯️ คุ้มครองสรรพชีวิตบนโลก หนึ่งเดียวในเอกภพ #นฤพนธ์เพ็งอ้นแปลเรียบเรียงและตีความ
ดาวหางเก่า ซึ่ง มีวัสดุระเหยหมดไปเนื่องจากความร้อนจากแสงอาทิตย์ จัดเป็นดาวเคราะห์น้อย
#อี้จิ้ง​☯️​ ปฏิกิริยา​เคมี​
การเปลื่ยนแปลง​ของอุณหภูมิ​แสงสว่าง​กับน้ำแข็ง​ ทวิลักษณ์​ดาวหางไม่มีแสงแต่มีน้ำแข็ง​ ดวงอาทิตย์​มีแสงแต่ไม่มีน้ำแข็ง
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ชาวจีนบันทึกดาวหาง​เป็น​ครั้ง​แรก​ตั้งแต่​สมัย​ราชวงศ์​โจว​
หรือ​ 613 ปีก่อนคริสต์ศักราช​ หรือ​ 2637 ปี​ก่อน ระบุว่า​ ปีที่ 14 เหวิน​อ๋อง แคว้น​หลู่ดวงดาวเข้าสู่เป่ยโถว ปัจจุบัน​ คือ
ดาวหางฮัลเลย์
ก่อนหน้าปรมาจารย์​เล่าจื้อ​และขงจื๊อ​เล็กน้อย
ปีที่ 13 ของกษัตริย์โจวจิง ราชวงศ์​โจว​ หรือ​ 532 ปีก่อนคริสตกาล​ (ยุค​สมัย​ปรมาจารย์​เล่าจื้อ​และ​ขงจื๊อ​)​
มีดาวดวงหนึ่งปรากฏบนหวู่หนู เป็น​บันทึก​ แสดง​ว่ามีดาวฤกษ์ดวงใหม่เกิดขึ้น​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
ภาพดาวหาง ที่มา iStock
อนึ่ง 1,400 ปีก่อนคริสตกาล (3,424 ปีก่อน)
ราชวงศ์ซางของจีน
ได้บันทึกสุริยุปราคา
และจันทรุปราคา สอดคล้องกับเรื่องราวการพบกันระหว่างขงจื๊อวัยหนุ่มเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมของแคว้น ได้พบเจอปรมาจารย์เล่าจื้อ ระหว่างทางเกิดสุริยุปราคา ปรมาจารย์เล่าจื้อ แนะนำให้ขงจื๊อประกอบพิธีกรรมหยุดชั่วคราว สักครู่ก็กระทำพิธีกรรมต่อไปได้
#นฤพนธ์ เพ็งอ้น
แปลเรียบเรียงและตีความ
สุริยุปราคา ที่มา Pixabay
1. ดวงอาทิตย์​ ส่องแสง​สว่าง​มาโลก
2. ดวงจันทร์​โคจร​มาบังแสงนั้น​พอดี
3. ทำให้​โลก​มองเห็น​ดวงจันทร์ที่ไร้แสงบด​บังแสงจากดวงอาทิตย์
จึงเรียกว่า​ ทั้งสามจึงก่อเกิด​สุริยุปราคา​
#นฤพนธ์​ เพ็งอ้น
แปล​เรียบเรียง​และ​ตีความ​
โฆษณา