Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
แทคซ์เคาต์สำนักงานบัญชีดิจิทัล | taxcount
•
ติดตาม
17 พ.ย. 2024 เวลา 11:12 • ธุรกิจ
แทคซ์เคาต์ สำนักงานบัญชีดิจิทัล | taxcount - digital accounting firm
## เจ้าของธุรกิจควรจ่ายภาษีเองหรือให้สำนักงานบัญชีจ่าย? ##
ประเด็นนี้ค่อนข้างเป็นประเด็นที่ผู้ประกอบการหลายท่านที่จ้าง
สำนักงานบัญชีสงสัย ในแต่ละเรื่องที่มีการยื่นภาษีและต้องมีก
ารชำระภาษีนั้น คุณควรจะจ่ายภาษีเองหรือจ่ายให้กับทางสำนั
กงานบัญชี แล้วให้ทางสำนักงานบัญชีจ่ายให้กับคุณ
ผมอาจจะให้คำตอบไม่ได้ว่าคุณควรจะทำแบบไหน เพราะขึ้นอ
ยู่กับการตกลงการทำงานระหว่างคุณและสำนักงานบัญชีที่ใช้ง
านอยู่ แต่ผมจะมาเล่าถึงระบบการจ่ายของกรมสรรพากร และ
workflow ในการทำงานที่ผมดูแลลูกค้าอยู่
แต่ละครั้งที่คุณยื่นภาษีกับทางเว็บไซต์ของกรมสรรพากร (ยื่น
ภาษีออนไลน์) ในระบบจะขึ้นหลากหลายช่องทางให้คุณเลือกใ
นการจ่ายเงิน ช่องทางที่ผมใช้บ่อยสุดก็คือ ไฟล์ pay-slip และ
ผมก็จะทำการส่งไฟล์นี้ให้กับลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าจ่ายภาษีโดย
ตรงกับกรมสรรพกรได้เลย ลูกค้าสามารถนำข้อมูลใน
pay-slip ไปจ่ายกับ mobile banking ได้เลย
สะดวกมากๆ โดยที่ไม่ต้องมาผ่านตัวกลาง ในที่นี้คือคนทำบัญ
ชี หรือสำนักงานบัญชี ทำให้แน่ใจได้ว่า ในแต่ละเดือน คุณได้
จ่ายภาษีให้กับสรรพากรจริงๆ
ลักษณะแบบนี้ทำให้สำนักงานบัญขีมีหน้าที่แค่ยื่นภาษีให้คุณเ
ท่านั้น แต่เรื่องของการจ่ายภาษีจะเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบกา
ร ซึ่งมีข้อดีคือ คุณมั่นใจได้อย่าง 100% ว่าเงินที่คุณจ่ายไปนั้
น ได้จ่ายให้กับกรมสรรพากร และเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจ
จะเกิดขึ้นภายหลังได้ว่า "ชั้นจ่ายภาษีไปทุกเดือน แต่ทำไมได้รั
บจดหมายว่าไม่ได้จ่ายภาษี"
แทคซ์เคาต์เข้าใจคนทำธุรกิจ
- บริการบัญชีรายเดือน พร้อมยื่นภาษี
- จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
- จดบริษัท
- แก้ไขงานทะเบียนต่างๆ ที่กรมพัฒน์ หรือกรมสรรพากร
ติดต่อเรา
- Line: @taxcount (มี@)
- โทร: 064-978-2519
- website:
www.taxcount.co
- email:
sarawut.s@taxcount.co
เราดูแลคุณมากวก่าบัญชี/ภาษี เราเป็นเพื่อนที่พร้อมจะคุยกับ
คุณทุกวัน ไม่มีวันหยุด
ทักคุยกับเราได้เลย
#taxcount
การเงิน
ภาษี
ธุรกิจ
บันทึก
1
1
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย