นอกจากนี้ ตั้งแต่ต้นปีนี้ก.ล.ต. ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพผ่านช่องทางต่าง ๆ มาอย่างต่อเนื่อง และล่าสุดได้จัดสัมมนา “เสริมสร้างความตระหนักและความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ”*************** ให้แก่กรรมการและผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียน เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดทิศทางจากผู้นำองค์กร (tone at the top) ซึ่งสามารถติดตามได้ผ่านเว็บเพจ One Report (sec.or.th)
ธุรกิจจะเริ่มปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพได้อย่างไรจากความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพและผลกระทบ ตลอดจนแรงกดดันต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมา ถึงเวลาแล้วที่ภาคธุรกิจต้องดำเนินการในด้านความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเริ่มจากการมี tone at the top ที่นำมาสู่การดำเนินการทั่วทั้งองค์กรและตลอดห่วงโซ่อุปทาน
*** ที่มา: What Biodiversity Loss and COP15 Mean for Investors - MSCI, p.12-134 ที่มา: Regulation on Deforestation-free products - European Commission (europa.eu)
***** ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ธนาคาร บริษัทที่ปรึกษาทางการเงิน กองทุนบำเหน็จบำนาญ บริษัทประกันภัย (ที่มา: The guide to Sustainable Finance Disclosure Regulation (apiday.com))
****** ที่มา: Sustainable Finance Disclosures Regulation - European Commission (europa.eu)
*******ที่มา: Publication of the implementing decree of Article 29 of the Energy-Climate Law on non-financial reporting by market players | Direction générale du Trésor (economie.gouv.fr)
********ที่มา The Taskforce on Nature-related Financial Disclosures (tnfd.global)
********** คู่มือ Interoperability mapping between the GRI Standards and the TNFD Recommended Disclosures and metrics (ที่มา: Interoperability mapping between the GRI Standards and the TNFD Recommended
Disclosures and metrics – TNFD)
*********** ที่มา: IFRS - Biodiversity, ecosystems and ecosystem services
************ ที่มา: IFRS - IFRS S1 General Requirements for Disclosure of Sustainability-related Financial Information