Blockdit Logo
Blockdit Logo (Mobile)
สำรวจ
ลงทุน
คำถาม
เข้าสู่ระบบ
มีบัญชีอยู่แล้ว?
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
E
Enve Engi
•
ติดตาม
2 ธ.ค. เวลา 16:35 • ปรัชญา
คน ดิน ฟ้า เต๋า ธรรมชาติ ใช้เต๋อ ก่อเกิดโชคชะตาดี สามัคคี ถ้าไร้เต๋อ โชคมิดี ขัดแย้ง
ปรมาจารย์เล่าจื้อ กล่าวว่า
คนคล้อยดิน
ผู้เขียน
ขออนุญาต อธิบายโดยแนวคิดของของตน ดังนี้.-
คนคล้อยดิน
นับเป็นโชคชะตาตามธรรมชาติ
และเป็นโชคชะตาที่ดี
จึงมิต้องเปลื่ยนแปลง
ถ้าเปลื่ยนแปลง
ก็ต้องขึ้นสถานีอวกาศจีน
จักอยู่ในภาวะไร้น้ำหนัก แต่ในสถานีอวกาศจีนคนก็คล้อยตามฟ้าอยู่ดี
คนจีนสมัยราชวงศ์โจว แบ่งดินแดนเป็น 10 แคว้นรบกัน จนเหลือ 7 แคว้น
ดินเป็นแหล่งแร่ธาตุให้พืชเจริญเติบโต
ดินเป็นที่อยู่อาศัยของพืช สัตว์
รวมทั้งคน
ดินเป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน
#Naruepon Pengon Author
ดินเป็นแกนหลักหนึ่งใน 5 ธาตุธรรมชาติของอี้จิ้ง
ดินกักเก็บรักษาน้ำ
ดินแลกเปลี่ยนน้ำในดินกับน้ำบนฟ้า
ดินช่วยกักเก็บแร่ธาตุ(ธาตุทอง)
ให้แก่ต้นไม้
ดินแลกเปลี่ยนพลังงานชี่
(ประจุไฟฟ้า) กับฟ้า เกิดฟ้าแลบ
ฟ้าร้อง
ดินสร้างแรงโน้มถ่วง 9.8 m/s
ทำให้คนอยู่ติดกับพื้นโลก
เมื่อโลกหมุนอย่างรวดเร็ว คนจึงมิรู้สึกว่าตนเองหมุน หรือเวียนศีรษะ
ใต้ดิน ก็พบสิ่งมีชีวิต
ใต้ทะเลก็มีพื้นดิน
#Naruepon Pengon Author
คนจีนคล้อยตามดินที่ 中原
จง-เหยียน (อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห)
มีศูนย์กลาง ณ
เหอลั่ว มีพื้นที่ระหว่าง แม่น้ำเหลือง
และแม่น้ำลั่วสุ่ย โดยมีแอ่งลั่วหยางเป็นศูนย์กลาง
รวมทั้ง
ที่ราบภาคเหนือ
ล้อมรอบริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำฮวงโห
พื้นที่บรรจบกันของแม่น้ำลั่ว
และแม่น้ำเหลืองทางตะวันตกของมณฑลเหอหนาน
#Naruepon Pengon Author Translate and compile
ดินที่คล้อยตามฟ้า
ดังนั้น ดินอุดมสมบูรณ์
คนจึงคล้อยตามดิน
ผ่านมา 5,000 ปี
ดิน 中原
จง-เหยียน
ก็ยังอุดมสมบูรณ์
นี่เรียกว่า โชคชะตาดี
คนจึงคล้อยตามดิน และดินที่คล้อยตามฟ้า
ดังนั้น ดินใน
中原
จง-เหยียน
จึงนับเป็นโชคชะตาที่ดี
มิต้องเปลื่ยนแปลง
ดินไม่คล้อยตามฟ้า
คือ ดินทะเลทราย
-การเสื่อมโทรมของที่ดินในพื้นที่แห้งแล้ง
-พื้นที่กึ่งแห้งแล้ง
-พื้นที่แห้งกึ่งชื้น
#Naruepon Pengon Author
ดินไม่คล้อยตามฟ้า
ดินทะเลทราย
-กัดเซาะของลมที่รุนแรง
-การพังทลายของน้ำ
-การเค็มของดิน
ดินมีโชคชะตามิดี
-ความแปรปรวนของฟ้า(ฤดูกาล สภาพภูมิอากาศ)
และการกระทำของคน
ทำให้ดิน
แปรเปลื่ยนเป็นพื้นที่แห้งแล้ง
แปรเปลื่ยนเป็นกึ่งแห้งแล้ง และแปรเปลื่ยนเป็นกึ่งชื้น
ต่อมาจึงกลายเป็นทะเลทราย
#Naruepon Pengon Author
คนมิคล้อยตามดิน
ดินมิคล้อยตามฟ้าฟ้ามิคล้อยตามเต๋า
เมื่อขาดเต๋า ธรรมชาติจึงมอบโชคชะตาให้เป็นดินอุดมสมบูรณ์
กลายเป็น
"ทะเลทราย"
ของจีนตั้งอยู่ในภาคตะวันตก
ห่างไกลจากมหาสมุทร
ภาคตะวันตกของจีนมีภูเขาซับซ้อน จากการยกตัวของที่ราบสูงทิเบต
จึงกั้นไอน้ำจำนวนมหาศาล ทำให้ภูมิภาคตะวันตกของจีนมีปริมาณไอน้ำน้อยที่สุด การตกตะกอน
และการคายน้ำ
ระเหยของน้ำในพื้นที่
#Naruepon Pengon Author
ภูมิภาคตะวันตกจึงแห้งแล้งที่สุด
และอยู่ในพื้นที่แอนติไซโคลนหรือความกดอากาศสูงกว่าบริเวณใกล้เคียงที่อยู่รอบ ๆ โดยลมที่สัญจรเป็นวงกว้างรอบ ๆ บริเวณกลางความกดอากาศที่มีระดับสูง
ในไซบีเรีย
และมองโกเลีย
ทำให้เกิดท้องฟ้าโปร่งขึ้น
อากาศเย็นสบายและแห้ง
เกิดหมอกในยามวิกาล
#Naruepon Pengon Translate and compile
ปรมาจารย์เล่าจื้อ กล่าวว่า
คนคล้อยตามดิน
ดินคล้อยตามฟ้า
ฟ้าคล้อยตามเต๋า
เต๋าคล้อยตามธรรมชาติ
ปัจจุบัน ประเทศจีน ใช้เต๋าเต๋อปกครองโดยมิปกครอง
ชาวจีนใช้เทคโนโลยีฟื้นฟูระบบนิเวศ
ในพื้นที่ทะเลทรายแห้งแล้ง
ปัจจุบันสามารถฟื้นฟูได้ตามธรรมชาติ
#Naruepon Pengon Author
ปี ค.ศ. 2015
ชาวจีนเริ่มโครงการ
สร้างอารยธรรมเชิงนิเวศน์
โดยสถานีทดลองทะเลทรายชาโปโถวของ Chinese Academy of Sciences
สถาบันวิทยาศาสตร์จีน
เพื่อแก้ปัญหาปริมาณน้ำฝนน้อยกว่า 200 มม.
เต๋า คือ วิถีทาง
ชาวจีน จึงกำหนดหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง
#Naruepon Pengon Translate and compile
แนวคิดเต๋าเต๋อ
ชาวจีนต่างเผ่าต่างภาษาพูด
จึงให้ความร่วมมือฉันมิตร
ชาวจีนต่างเผ่าต่างภาษาพูด
ยอมเปิดกว้าง
และการไม่แบ่งแยก
ชาวจีนต่างเผ่าต่างภาษาพูด
พัฒนาการเรียนรู้ร่วมกัน
ชาวจีนต่างเผ่าต่างภาษาพูด
แบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน และผลลัพธ์ที่ได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
#Naruepon Pengon Author Translate and compile
ชาวจีนต่างเผ่าต่างภาษาพูด
ช่วยกันอนุรักษ์และพัฒนาลุ่มน้ำขนาดเล็กในระบบนิเวศ ของทะเลทราย
คิดค้นอุปกรณ์ปรับปรุงการป้องกันลมพายุทะลทราย
การตรึงทราย
เซลล์แสงอาทิตย์เชิงนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ
#Naruepon Pengon Translate and compile
การแปรสภาพเป็นทะเลทรายด้วยระบบนิเวศโดยเศรษฐกิจ แบบ win-win (โชคชะตาดีทั้งสองฝ่าย สมดุลแห่งโชคชะตา สอดคล้องเต๋า)
win-win เกิดผลประโยชน์ทางสังคม
#Naruepon Pengon Author
Translate and compile
การพัฒนาซินเจียง ประเทศจีนเริ่มที่ ทรายทาคลิมากัน ความยาววงกลมรอบขอบทะเล
= 3,046 กิโลเมตร
เดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 2023
ชาวจีนต่างเผ่าต่างภาษาพูด
สร้างแนวป้องกันทรายสีเขียวยาว 2,761 กิโลเมตร
แนวป้องกันทรายสีเขียว มีช่องว่างอีก 285 กิโลเมตร
28 พฤศจิกายน 2024
ชาวจีนต่างเผ่าต่างภาษาพูด
สร้างประวัติศาสตร์ของการ "สร้างแนวป้องกันสีเขียวล็อกทะเลทรายตักลิมากัน
ทะเลทรายที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ" ให้เสร็จสิ้น รวมเวลา 40 ปี
#Naruepon Pengon Translate and compile
Taklimakan
ทะเลทรายตักลิมากัน
ซินเจียง ประเทศจีน เป็นทะเลทรายเคลื่อนที่ที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก
ลมและทรายและ
เนินทรายขยายตัว ออกด้านนอก Edge Locking
"การล็อคขอบ
โดยสร้างแนวป้องกันสีเขียวล็อกทะเลทรายตักลิมากัน"
เป็นการใช้ป่าไม้และแถบหญ้า
เพื่อควบคุมลมและทราย
ไฟฟ้าโซลาร์เซลล์แก้ไขทรายดูดเพื่อไม่ให้แหล่งทรายกระจายออกไปด้านนอก
และทรายดูดจะไม่แพร่กระจาย
ช่วยล็อคช่องลม
และทราย
ตลอดความยาว 285 กิโลเมตร
มิให้ไปสู่แหล่ง โอเอซิส
#Naruepon Pengon Translate and compile
"Edge Locking"
การล็อคขอบ
เพื่อป้องกัน
ถนนหนทาง (เต๋า)
และโครงสร้างพื้นฐาน (เต๋อ)
ย้อนคืนสู่เต๋า
ฟื้นฟูสภาพสู่ธรรมชาติที่สมดุล
โดยฟื้นฟูระบบนิเวศในทะเลทรายพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์
ฟื้นฟูนิเวศในแม่น้ำ
อุตสาหกรรมป่าไม้ข้าว ผลไม้
และสร้างถนนในทะลทราย
5 พื้นที่ป่าไม้ใหญ่ของโลก
1. รัสเซีย
2. บราซิล
3. แคนาดา
4. สหรัฐอเมริกา
5. จีน
#Naruepon Pengon Translate and compile
ประเทศจีนปลูกแซกซอลดำ
(วงศ์บานไม่รู้โรย) ในทะเลทราย
ในดินเหนียวที่มีเกลือสูง
เพราะสร้างร่มเงาและลดการกลายเป็นทะเลทราย
เติบโตได้ในทุกระบบนิเวศของทะเลทรายโกบี
#Naruepon Pengon Translate and compile
จีน
แนวคิด
เรื่องเล่า
2 บันทึก
4
2
4
โฆษณา
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน
© 2024 Blockdit
เกี่ยวกับ
ช่วยเหลือ
คำถามที่พบบ่อย
นโยบายการโฆษณาและบูสต์โพสต์
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แนวทางการใช้แบรนด์ Blockdit
Blockdit เพื่อธุรกิจ
ไทย