9 ธ.ค. เวลา 16:09 • ปรัชญา

ควอนตัมของอี้จิ้ง "การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง", "การเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง"

ความสัมพันธ์ระหว่าง
สสารและพลังงาน
"ควอนตัม"
คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของพลังงาน
, ชี่
"ควาร์ก" คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร, ไท่จี๋, อี้จิง
เลขฐานสอง
0 0 0 อู๋จี๋ ,
0 0 1 ไท่จี๋
#Naruepon Pengon Author
เลขฐานสอง
อนุภาคยกกำลัง
จำนวนโอกาสของควอนตัม เช่น
2^3 = 8
อี้จิ้ง ความไม่แน่นอน ของการเปลื่ยนแปลง
#Naruepon Pengon Author
#Naruepon Pengon Author
ควอนตัมของอี้จิ้ง
โอกาสจับคู่ของเลขฐานสองอี้จิ้ง
คู่ทิศตรงข้าม
เวียนทวนเข็มนาฬิกา ถึงเลขสามฐานสอง แล้วเวียนตามเข็มนาฬิกา
เป็นรูปตัว S
จนครบแปดทิศ
0 0 0 + 1 1 1
= 7
0 0 1 + 1 1 0
= 7
0 1 0 + 1 0 1
= 7
0 1 1 + 1 0 0
= 7
1 1 1 + 0 0 0
= 7
1 1 0 + 0 0 1
= 7
1 0 1 + 0 1 0
= 7
1 0 0 + 0 1 1
= 7
#Naruepon Pengon Author
จักเห็นโอกาส
การจับคู่ควอนตัม
ทิศทางตรงข้าม
ตัวอย่าง
1 1 1 + 0 0 0
= 7
0 0 0 + 1 1 1
= 7
#Naruepon Pengon Author
สมมติ
มี เป็น 1,
ไม่มี เป็น 0
1 1 1 + 0 0 0
อาจเป็น
อนุภาค + คลื่น
หรือ 0 0 0 + 1 1 1
คลื่น + อนุภาค
#Naruepon Pengon Author
โอกาสความน่าจะเป็น
เกิดจาก
อนุภาคมีมาก เช่น 1 1 0 , 0 1 1
เพราะอนุภาคมีน้อย เช่น
0 0 1
อี้จิ้ง คือ ไท่จี๋
คือ
การเปลี่ยนแปลง
อี้จิ้งทวนเข็มนาฬิกา
"การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง"
เริ่มจาก 0
(อู๋จี๋ ว่างเปล่า
ชี่ พลังงาน เส้นประสามขีด)
0, 1 , 2, 3
"การเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง"
จาก 3 วิ่งทิศตรงข้าม มา 4
อี้จิ้งตามเข็มนาฬิกา
"การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง"
เริ่มจาก 4, 5, 6, 7
จาก 7 (ไท่จี๋ ความมี สสาร เส้นเต็มสามขีด)
วิ่งทิศตรงข้าม มา 0
(อู๋จี๋ ว่างเปล่า
ชี่ พลังงาน เส้นประสามขีด)
#Naruepon Pengon Author
#Naruepon Pengon Author
เส้นแบ่งความไม่สมมาตร รูปตัว S
แบ่งซ้าย-ขวา
หยิน-หยาง เกิด
อี้จิ้ง การเปลี่ยนแปลงทวิลักษณ์
ขอบคุณที่มา 图精灵
ขอบคุณที่มาภาพ 图精灵
เมื่อเลขฐานสอง
อี้จิ้งสองค่า
อยู่ในสถานะทิศตรงข้ามควอนตัม การวัดคุณสมบัติของเลขฐานสองอี้จิ้ง
ค่าใดค่าหนึ่งในทิศตรงข้ามจะทำให้สามารถทราบค่าตัวเลขฐานสองอี้จิ้งได้ทันที
โดยไม่ต้องตรวจสอบ
จักพบว่าผลลัพธ์จะเป็นเช่นนั้น
หากทำการวัดแบบเดียวกันกับเลขฐานสองอี้จิ้ง
อีกค่าหนึ่งในทิศตรงข้าม
#Naruepon Pengon Author
#Naruepon Pengon Author
อี้จิ้งของควอนตัม
วงกลมทั้งสองลูกฟิวชั่นรวมร่าง
เป็นสีเทา (ขาว+ดำ)
ไม่มีผู้ใดตรวจพบไม่มีผู้ใดสังเกตเห็น
เมื่อเคลื่อนไหวมีผู้สังเกต
มีผู้ตรวจพบ
เมื่อวงกลมสีดำเคลื่อนที่ไปในทิศทางหนึ่ง
และวงกลมสีขาวเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้าม
ถ้าผู้สังเกต
จับวงกลมแล้วเห็นว่าเป็นสีขาว
ก็จะรู้ทันทีว่า
วงกลมที่เคลื่อนที่ไปอีกทาง
นั้นเป็นสีดำ
#Naruepon Pengon Author
#Naruepon Pengon Author
จากรูป
ควอนตัมอี้จิ้ง
เลขฐานสองอี้จิ้ง
2 จำนวน
มีทิศทางขนานกัน
(2 vs 5 or 0 vs 7)
หากเลขฐานสองอี้จิ้ง
ค่าหนึ่งสามารถบวกได้ = 7 จึงสอบผ่านได้
ดังนั้น
เลขฐานสองอี้จิ้ง
ทิศทางตรงข้าม
ก็จะบวกได้ = 7
จึงสอบผ่านได้
เช่นกัน
#Naruepon Pengon Author
แต่เมื่อวางตัวเลขฐานสองอี้จิ้ง
สองค่า
ตั้งฉากกัน เช่น
7 vs 5
เลขฐานสองอี้จิ้งค่า 5 ไม่มีการจับคู่กับ 7 ผลรวม = 5 สอบผ่านจึงถูกบล็อก ไม่ได้ไปต่อ
ในขณะที่เลขฐานสองอี้จิ้ง ค่า 7 มีค่า = 7
แม้ไม่มีการจับคู่ จึงสอบผ่านไปได้
#Naruepon Pengon Author
เลขฐานสองอี้จิ้ง
ที่มา Pixabay
จากภาพ อี้จิ้ง
เมื่อสังเกตได้
คือภาพไม่ต่อเนื่อง
แต่ถ้า หมุนภาพ
อี้จิ้ง ตามเข็ม
หรือทวนเข็มนาฬิกา
ภาพเคลื่อนไหวเปลื่ยนแปลงต่อเนื่อง
#Naruepon Pengon Translate and compile
โฆษณา