17 ม.ค. เวลา 14:01 • ปรัชญา
ถ้าดีจริงไม่น่ากลัวหรอกค่ะ ยกเว้นแต่ว่าเขาจะยึดมั่นในกฎของตัวเองแล้วตัดสินด้วยความรุนแรง
เราก็หัวรุนแรงนะ แต่เราเรียนรู้ว่ามันใช้ได้แค่กับการป้องกันตัวเองและคนอื่น การเรียนรู้ที่จะใช้ความรุนแรงให้ถูกต้องก็ควรจะมีคนสอนที่ดี ถ้าไม่มีใครสอนก็ต้องเรียนรู้ให้ได้ด้วยตัวเอง
นอกจากนี้เราก็ยังมีกฎแปลก ๆ อย่าง คือถ้าคนที่เคยทำร้ายเราแบบเรื่องใหญ่มาก (เรื่องต้องใหญ่จริง ๆ เราถึงจะรู้สึกโกรธค่ะ เพราะเราโกรธคนยากมาก 😐) ถ้าไม่สำนึกในความผิดตัวเองเราไม่ยากให้เข้ามาใกล้เลย เราให้อภัยนะ แต่ถ้าไม่สำนึกผิดแล้วครานเข่าเข้ามาขอโทษตอนที่ยังมีชีวิตอยู่และสุขภาพยังดี ถ้าเราลุกมาบอกให้อภัยด้วยความตั้งใจของตัวเองไม่ได้ เราก็จะไม่อยากให้เข้ามาใกล้เลย (ไม่ยอมให้เข้าใกล้ด้วย)
คือการให้อภัยจริง ๆ เบื้อต้นมันคือการปล่อยตัวเองจากความโกรธ,แค้น,เกลียดชัง ส่วนคนร้ายจะรับการให้อภัยได้จริงก็ต่อเมื่อตัวมันเองสำนึกเท่านั้นค่ะ
ถ้าสมมติว่าเหยื่อให้อภัยแล้ว คนร้ายสำนึกผิดแล้ว แล้วทั้งสองคนมาเจอกันอีกและได้พูดคุยขอโทษและให้อภัยกันต่อหน้า มันก็จะกลับมาอยู่กันได้ แต่เรื่องที่คนร้ายทำมันใหญ่หรือไว้ใจยากอย่างการล่วงละเมิดทางเพศ คนร้ายมันก็อาจต้องถูกสังคมระแวงไปตลอดชีวิต เพราะมันเป็นตราบาปของคนร้ายค่ะไม่ใช่ของเหยื่อ 😑
เหยื่อคดีล่วงละเดทางเพศมีแค่แผลใจ รักษาแผลหายแล้วรักษาตัวให้ดูดีจะมีสามีกี่คนก็มีได้ (ถ้าเป็นสเตจที่มีเงินนะ 😑)
แต่ปัญหาทุกวันนี้คือคนร้ายล่วงละเมิดทางเพศไม่ค่อยสำนึกผิดแล้วก็มักจะทำร้ายเหยื่ออย่างต่อเนื่อง ผลของมันก็เลยกลับไปทำร้ายตัวเองกับคนรอบข้าง เพราะคนร้ายจะชอบดึงพรรคพวกมาทับถมเหยื่อแล้วก็สร้างแก๊งคนชั่วขึ้นมา เพราะงั้นเวลากรรมตามสนองมันก็จะแรงแล้วก็เป็นวงกว้างด้วย 😑
ถ้าใครนึกภาพถังขรี้ระเบิดก็คงจะนึกออกแหละว่ามันจะเป็นประมาณนั้น ความชั่วของคนร้ายระเบิดออกมา พวกนอกที่ให้ความช่วยเหลือซ้ำเติมเหยื่อก็จะเปื้อนขรี้ไปด้วย
โฆษณา