ความคิดเห็นบนคำถาม

การพูดถึงคือการเหยียดหรือไม่เหยียด ?
เมื่อวาน เวลา 05:42 • ความคิดเห็น • 14 คำตอบ
ตอบคำถามอย่างสงบสติอารมณ์ เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน เข้าใจว่าหลายคนรู้สึกไม่พอใจ คำถามนี้ตั้งขึ้นเพียง... ดูเพิ่มเติม
คำตอบ (14)
  • คำพูดคือลูกธนู ยิงออกมาแล้วไม่เจตนา แต่โดนคนฟังไม่ได้ศัพท์รู้สึกเจ็บ ก็คือเจ็บหรือจะโทษว่าฟังไม่ครบเอง อ่อนไหวไปเองกระนั้นหรือ เขาอาจอ่อนไหวจริง จนขาดสติจริงๆ เกินกว่าจะมาเสียเวลาฟังให้ได้ศัพท์ ดีสุดก็คือการไม่พูดเรื่องนั้น หรือเปล่า?
    1
  • ในภาพ ความเห็นเราคือ trigger ไปเอง เพราะ insecure เอง เพราะโดนเหยียดมาเยอะ จนแค่พูดแค่นี้ก็ตัดสินคนอื่นว่าเขาเหยียด เหมารวมไปเอง มองแง่ร้ายกับคนอื่น ว่าคนอื่นต้องคิดร้ายต้องเหยียดตลอด ทั้งที่เขาแค่บอกว่าเป็นคนอีสาน เหมือนถ้าเราไปปตท. แล้วแนะนำตัวเองว่าเป็นคนไทย คนก็จะพูดถึงเราว่า...
    1
  • การไปตีความหน้าตา หรือ น้ำเสียงคนอื่น แล้วไปกล่าวหาว่าเขาคิดอย่างนั้นอย่างนี้ ทั้งๆที่เขาไม่ได้คิด ถือเป็นการเหยียดหน้าตา หรือ น้ำเสียงคนอื่นหรือไม่?
    1
  • เหยียด​ คือ​ แกนหลักที่จะนำไปวัดคำพูดหรือการกระทำ​ เหล่านั้น​ ว่าเหยียดหรือไม่​ ต้องมีคนเสียหาย​ หรือด้อยค่า​
    1
  • แล้วแต่อรมณ์กับเจตนาในการพูดค่ะ ยกตัวอย่างนะ
    1
    "คนอีสานบ่อจ้า" เสียงแม่ค้าสาวที่ถามลูกค้าแบบสดใส...
    1
  • สถานการณ์แบบนี้รีบประเมินตัดสิน
    ยิ่งวุ่น โต้กันไม่จบ
    แต่สะใจคนที่มีเจตนาเหยียดที่ทำให้เราเสียอารมณ์ โมโห
    แต่ถ้าเขาไม่ได้ตั้งใจเหยียดก็อาจเสียความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน...
    1
  • ่ผช.เสื้อเขียวช่างแสนรู้
    ผช.เสื้อเขียวใส่เสื้อราคาหลักสิบ
    ผช.เสื้อเขียวควรทำศัลยกรรม
    1
  • ปกตินี่ฮะ เฮียเนี่ยมีเมียลาวแต่เฮียบ่กินปลาร้าซำเขากะเอากันได้ยุเด้อ
    1
  • คนอีสาน...แปลกตรงไหน...ก็มีทั้งคนเหนือ คนใต้ คนลาว คนเขมร คนจีนเทา..แค่บ่งบอกแค่นั้นอย่าเอามาเป็นอารมณ์เหมือนอดีตคนจีนจะไม่พอใจคำว่าเจ๊ก
    1
    กำหนดกันเองจากสังคมบางกลุ่มว่าคือคำเหยียด...
    1
  • * ตอบจากคำถาม
    1
    การพูดถึง จะเป็นการเหยียดหรือไม่เหยียดต้องดู”เจตนา” ของผู้พูดซึ่งมักจะสะท้อนออกมาทางสีหน้า กิริยา วาจา หรือท่าทางค่ะ...
    1