ความคิดเห็นบนคำถาม

ทำอย่างไรไม่สามารถแก้นิสัยของแม่ได้ค่ะ คือแม่เวลาจะเรียกใครชอบมีคำนำหน้าว่า "อี" เสมอ เช่น อีตา อีแนน อีต่าย ซึ่งเราไม่ชอบเลยเพราะดูไม่ให้เกียรติ และคิดว่าถ้าใครมาเรียกคนในครอบครัวแบบนี้เราก็ไม่ชอบ ?
15 ม.ค. เวลา 00:25 • ความคิดเห็น • 9 คำตอบ
เวลาเตือนแม่ก็จะได้ปะทะอารมณ์ตลอด แม่เข้าสู่วัยทองด้วยค่ะ พยายามไม่ยึดติด และคิดติเตียนอะไรเค้ามากเพ... ดูเพิ่มเติม
คำตอบ (9)
  • สุดยอดคำตอบ
    คุณแม่อาจสั่งสมนิสัยแบบนี้มานานจนคุ้นชิน
    และยากในการเปลี่ยนแปลงเรื่องนี้ถือเป็น
    เรื่องที่ควบคุมไม่ได้มองคุณแม่ด้วยความเมตตา
    ที่เค้าชอบเรียกใครแบบนี้อาจเพราะมีที่มา...
    3
  • เป็นปรกติธรรมดาค่ะ ท่านทำแล้วมีความสุขปล่อยให้ท่านทำไป เราก็ผสมเรียกไปด้วย อีแม่ จะได้อยู่อย่างกลมกลืนไม่แปลกเเยก
    ที่บ้านเป็นครอบครัวที่มีเชื้อสายจืน เรียกพี่ชายว่า โก๊ เรียกพี่สาวว่าเจ๊ พี่สาวคนหนึ่งไม่ยอม ต้องเรียกว่าพี่ ก็เรียกกัถึงัปัป...
  • ให้ถือว่าเป็นธรรมดาเสียครับ​ คนไตลื้อ​ เวลาแนะนำตนเอง​ จะบอกว่า​ เฮาชื่อ​ อี่แก้ว, อี่จัน, อี่นางหอม​ เป็นต้น​ เพราะนี้คือ​ เขาบ่งชี้ว่า เป็นสตรี​ ครับ
    1
  • นิสัยเขา แต่เจตนาดีป่าว ให้ดูที่เจตนาครับ
  • 1. คุณบอกชัดเจนว่าคุณแม่เป็นคนภาคเหนือ ดังนั้นก็เป็นธรรมดาที่คุณแม่จะได้รับอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมมาจากรุ่นปู่ย่าตาทวด ซึ่งคำว่า "อี" ไม่ได้เกิดมาจากสมัยพ่อขุนรามฯ มันมีรากศัพท์มาจากการออกเสียงในพื้นถิ่นลาวเหนือ ไทลื้อ ไทใหญ่ และภาษาคำเมืองที่ออกเสียง "อี่" อาทิเช่น "อิ่น่องค...
    1
  • ถ้าแม่ไม่เชื่อก็ขอร้องโดยมีตัวเลือกแม่อีกครั้งนะครับ ผู้หญิงให้เรียก ไอ้ ผู้ชายให้เรียก อี ฟังดูจะน่ารักกว่าว่ามั้ยครับ🤗
    2
  • อย่าคิดมาก เป็นภาษาปกติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยหรือก่อนสุโทัย...เราเรามักเรียกว่าภาษาพ่อขุนรามคำแหงมหานราช กษัตริย์องค์ที่3แห่งราชวงค์สุโขทัย. ผู้ซึ่งประดิษฐ์อักษรไทยปี พ.ศ.1826ให้เราใช้
    มาจนทุกวันนี้...แต่ยุคนี้ปี2568อาจคิดว่าหยาบคายก็ปกติอีก. เนื่องด้วยเร...
    1
  • มันเป็นคำสมัยพ่อขุนที่จริงใจฮะ เฮียยังเรียกเพื่อนว่าอีเตี้ยเลยฮะ
    1
  • ทำให้นึกถึงหนังละครไทยเรื่อง ทองเนื้อเก้า
    ลำยอง กับ ลูกวันเฉลิม
    แต่ไม่ได้หมายถึงว่าแม่คุณเป็นแบบลำยองนะ
    แค่นึกถึง เรื่องชาวบ้าน ละครไทยแบบนี้...
    1