ความคิดเห็นบนคำถาม

ตามที่มีออกประกาศราชกิจจานุเบกษาว่า ผู้อยู่กินฉันสามีภริยา โดยไม่จดทะเบียนสมรสให้ถือว่าเป็น 'คู่สมรส' ท่านเข้าใจว่าอย่างไร? และท่านคิดว่ามีข้อดี-เสีย อย่างไร?
12 มี.ค. เวลา 08:40 • ครอบครัว & เด็ก • 10 คำตอบ
คำตอบ (10)
  • เราเลยไม่ค่อยศรัทธาในความรักของคนปัจจุบันนี้เลย
    เอาผลประโยชน์เป็นที่ตั้งทั้งนั้นเลย
    ไม่ว่าทะเบียนสมรสที่มีมา สมรสเท่าเทียม มาเรื่องนี้อีก
    1
    ทำให้คนปัจจุบัน รักกันแบบปลอมๆ อยากแยกกันแกก็ต้องจ่ายมา ไรงี้...
    1
  • แค่การยื่นบัญชีทรัพย์สินนักการเมืองครับ​ มิใช่กฎหมายครอบครัว
  • ผมว่าก็มีการใช้ดุลพินิจในการตัดสินอยู่ดี ซึ่งไม่ยุติธรรม
    1
  • เคยเห็นหัวข้อข่าวคร่าวๆ ไม่ได้สนใจว่ารายละเอียดเป็นอย่างไร
    คิดว่าเป็นการวิ่งไล่จับพวกที่อาศัยความได้เปรียบบางอย่างจากสถานะที่ไม่ใช่ในการอุบอิบบางอย่าง ตามประกาศนี้เลยเข้าใจว่าเป็นการปิดทางด้านนี้ไปสำหรับบางคนที่ตั้งใจอุบอิบ...
    1
  • เฉพาะผูเดำรงตำแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่รัฐระดับสูง
    เพื่อการตรวจสอบทรัพย์สินเท่านั้นครับ ไม่มีผลกับการตีความ
    การสมรสปกติ
  • แต่ก็มีข้อแม้นะครับ ในกรณีที่คู่แต่งงานมีการแสดงออกต่อหน้าสาธารณชนให้รับรู้รับทราบถึงการอยู่กินในฐานะสามีภรรยาปกติ จึงต้องป้องกันกำชับในเรื่องการอาศัยช่องว่างของข้อกฎหมายความรับผิดชอบในส่วนทรัพย์สิน...การปิดช่องว่างตรงนี้ ผมเห็นชอบนะ เพราะพฤติกรรมทางด้านจัดการการเงินโดยรวมไม่ใด้...
  • เป็นการเล่นวิ่งไล่จับ หรือวัวหายล้อมคอกเพื่อแก้ปัญหาทุจริต เลี่ยงภาษี เลี่ยงการล้มละลายและถูกติดตามทรัพย์
    1
    ก็มีข้อดีอยู่บ้างคือคนที่มีเจตนาทำผิดได้ลำบากขึ้นแต่คาดว่าไม่ครณามือคนที่เจตนาไม่ดีนะคร้าบ ป่านนี้อาจยกระดับไปในที่ๆ กฏหมายคิดไม่ถึงแล้วเพรา...
    1
  • ข้อเสียคือเวลาโดนฟ้องบังคับคดีก็คงโดนทั้งคู่อยู่ดีตามคำนิยาม...ฉะนั้นต้องแยกกันอยู่แบบเนียน ๆ ไปตลอดชีวิตฮะ
  • เป็นการไล่อุดรอยรั่วไปอีกหนึ่งจุด ในส่วนของการผ่องถ่ายทรัพย์ที่ได้มาโดยทุจริต
    *แต่อีกสักพักคนพวกนั้นก็จะทางใหม่ จนเจอครับ
    1
  • คุ้นๆว่าอันนี้เป็นราชกิจจาบังคับใช้สำหรับ บุคคลที่เป็นเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เท่านั้นหรือเปล่าครับ เพื่อการทวนสอบทรัพย์สินให้ชัดเจน ไม่ได้บังคับใช้กับประชาชนทั่วไป ยังไงรอผู้รู้มาตอบอีกทีนะครับ เผื่อผมตอบผิด