นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า พืชสกุลขนุนน่าจะแพร่กระจายผ่านทาง North Atlantic Land Bridge ที่เป็นแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่างทวีปอเมริกาและยุโรป ผ่านทางเกาะกรีนแลนด์และไอซ์แลนด์ มายังทวีปยุโรปและเอเชีย ที่เกิดขึ้นในยุค Palaeocene และมาถึงเกาะบอร์เนียวเมื่อ 40 ล้านปีก่อนในสมัย Eocene ถึง Oligocene
แผนที่โลกในยุค Paleocene-Eocene (50 ล้านปีก่อน)และเส้นสีแดงแสดงให้เห็นการเดินทางของพืชสกุลขนุนผ่าน North Atlantic Land Bridge จากทวีปอเมริกามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ดัดแปลงจาก Ron Blakey - https://www.thearmchairexplorer.com/geology/paleogene-period)
ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน[Pteropus vampyrus] ที่น่าจะมีบทบาทในการขนเมล็ดพืชสกุลขนุน (ที่มา NobbiP, CC BY-SA 3.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=73213005)
เอกสารอ้างอิง
1. Evelyn W. Williams, Elliot M. Gardner, Robert Harris, Arunrat Chaveerach, Joan T. Pereira, Nyree J. C. Zerega, Out of Borneo: biogeography, phylogeny and divergence date estimates of Artocarpus (Moraceae), Annals of Botany, Volume 119, Issue 4, March 2017, Pages 611–627, https://doi.org/10.1093/aob/mcw249