8 ธ.ค. 2019 เวลา 02:23 • สุขภาพ
โปรตีนอุดตันตอนที่ 25 ความลับของพาราเซตามอล
ตอนที่ผู้เขียนศึกษาเรื่องโปรตีนใหม่ ก็มีแรงบันดาลใจส่วนหนึ่ง มาจากยาตัวนี้แหละ พาราเซตามอล ยาสามัญประจำบ้าน แก้ปวดลดไข้ ใช้กันแพร่หลายมาก แต่เอาเข้าจริงกลับมีเรื่องที่คนไม่รู้เกี่ยวกับยาตัวนี้
1.กลไกการออกฤทธิ์
เอาเข้าจริงก็ไม่มีใครรู้แน่ชัดว่าไปออกฤทธิ์อย่างที่ว่ามัย แต่ใช้ลดไข้ แก้ปวดก็ใช้ได้
2.โครงสร้างของยา
โครงสร้างเคมี จาก Wikipedia
เรื่องนี้ไม่มีใครรู้แน่นอน ในสิ่งที่ผู้เขียนกำลังจะเล่าให้ฟัง
พาราเซตามอล เป็นกรดอะมิโนตัวหนึ่ง ที่มีชื่อว่า ฟีนิลอะลานีนครับ ถ้าดูจากโครงสร้างเคมีก็ใช่ มีธาตุ CHON จัดเป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง
ตอนนี้กระแสกลัวน้ำตาล + กินโปรตีนมาก ๆ กำลังมาแรงมาก จนขนาดเขียนคำขึ้นมาว่าน้ำตาลเป็นพิษ ทั้งที่คำนี้ในตำราแพทย์เองก็ไม่มีนะครับ เป็นการสร้างคำที่เกินกว่าตำราไปมาก คำที่มีจริง ๆ อยู่ในตำรา ก็คือเลือดเป็นพิษ
เลือดเป็นพิษก็คือ คำว่า ยูรีเมีย uremia แปลว่าค่ายูเรียและไนโตรเจนสูงเกินไป ซึ่งค่าพวกนี้เป็นการแสดงให้เห็นว่าร่างกายมีโปรตีนในเลือดมากเกินไป ดังนั้นคำว่า uremia=โปรตีนเป็นพิษนั้นเอง
จุดจบของยูรีเมียก็คือไตพังครับ ต้องฟอกเอาโปรตีนออก ไม่ได้ฟอกน้ำตาลออกครับ และไม่ได้ฟอกเอาไขมันออก
เวลาเราทานโปรตีนมากเกินไป ระบบที่กระทบมากสุดก็คือ ระบบตับและไต นี่แหละครับ
เหตุที่ต้องเขียนเรื่องพาราเซตามอล นี่ก็จะอธิบายเรื่องนี้ให้เห็นภาพชัดขึ้น พาราเป็นตัวแทนของโปรตีนที่ดี
สมมุติว่าเรากินน้ำตาล 50 กรัมเข้าไปในครั้งเดียว ร่างกายก็จะนำน้ำตาลไปเปลี่ยนเป็นพลังงาน ได้ซัก 200 kcal ถ้าเราไปเดินสัก 4 กิโลเมตรก็คงจะหมดไป ไม่ได้เกินความเสียหายให้แก่อวัยวะภายในใด ๆ ตับไตปกติ
เพราะน้ำตาลคือ CHO เป็นการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ร่างกายสามารถเบิร์นออกไปได้หมด ถ้าไม่หมดก็เก็บเป็นไขมัน
แต่ถ้าเราทาน พาราเซตามอล ซึ่งเป็นตัวแทนของโปรตีนเข้าไป ปริมาณ 50 กรัมเท่ากับน้ำตาล คือ พาราเซตามอล 500 mg. จำนวน100 เม็ด
สิ่งที่ตามมาก็คือ ตับวาย ไตวาย อวัยวะภายในเสียหาย อาจถึงตายอย่างทรมานได้ในไม่กี่วันถ้าทานถึง 50 กรัมในครั้งเดียว ปกติแค่ 10 กรัม ก็แย่แล้วครับ
เป็นผลจาก ไนโตรเจน ที่อยู่ในโปรตีนครับ จะไปรบกวนระบบตับและไต เป็นอย่างมาก
ดังนั้นในความเห็นผู้เขียน โปรตีนจึงน่ากลัวกว่าน้ำตาลและไขมันหลายร้อยเท่าครับ ถ้าสงสัยก็ลองไปอ่านบทความก่อนหน้านี้จะเข้าใจมากขึ้นครับ
ถ้าชอบบทความนี้อย่าลืมกดไลค์กดแชร์กดติดตามด้วยนะครับ ยังมีบทความดี ๆ อีกมากให้ติดตามกันต่อไป

ดูเพิ่มเติมในซีรีส์

โฆษณา