2 พ.ย. 2020 เวลา 12:00 • การศึกษา
เลขยกกำลัง (ตอนที่ 2)
คราวที่แล้วเราคุยกันถึงเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับเลขยกกำลัง,ความหมายของเลขยกกำลัง และ เลขชี้กำลังเป็นบวก และ เป็นลบ วันนี้เราจะมาคุยกันต่อครับ
ดูภาพจากคราวที่แล้วของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นบวกและลบเพื่อใช้ทบทวนอีกครั้ง
ภาพเดิมจากคราวที่แล้ว
มาดูตัวอย่างเลขยกกำลังครับ
ตัวอย่างเลขยกกำลัง
สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่น้องๆควรทราบก็คือ
“เลขชี้กำลังเป็นลบคือ“ตัวผกผัน”ของเลขชี้กำลังที่เป็นบวก ตัวผกผันคือ “ส่วนกลับ”
ดังนั้น a^n คูณ a^(-n) = 1 เสมอครับ ..... ดูรูปด้านบนครับ
ถ้าเลขยกกำลังป็น 1 หรือ 0 ?
เลขยกกำลังเป็น "0" หรือ "1"
ข้อสังเกต
• ตัวยกกำลังที่เป็นจำนวนเต็มมากกว่า 0 ผลลัพธ์มี่ค่ามากกว่า 1
• ตัวยกกำลังที่เป็นจำนวนเต็มน้อยกว่า 0 (กำลังติดลบ) ผลลัพธ์มี่ค่าน้อยกว่า 1
• ตัวยกกำลังติดลบทำให้เกิดเป็นตัวผกผันของตัวยกกำลังบวกที่ “ฐานเดียวกัน”
• ถ้าฐานเป็นจำนวนบวก เลขยกกำลังนั้นมีค่ามากกว่า 0 เสมอ
คราวหน้าเราจะมาคุยกันเรื่องเลขยกกำลังของพหุคูณ
ในวันที่ 4 พ.ย. 2563 เวลา 19.00 น. ครับ

ดูเพิ่มเติมในซีรีส์

โฆษณา