12 ธ.ค. 2020 เวลา 12:00 • การศึกษา
จำนวนจริง (ตอนที่ 13) เรื่อง ตัวอย่างของจำนวนอตรรกยะ(ต่อ)
คราวที่แล้วเราคุยกันถึง เรื่อง ของ e ซึ่งเป็นจำนวนอตรรกยะที่เรารู้จักกันดี ซึ่งถูกนำมาใช้ในหลายสาขาทั้งคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
เรื่อง ของ e ยังมีความน่าสนใจอีกหลายประเด็นเพราะ e ยังเกี่ยวพันกับเรื่องอื่นๆอีกนอกเหนือจาก สาชาคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ แล้วยังเกี่ยวเนื่องกับสาขาอื่นๆอีกมากมาย เช่น
การคำนวณ ดอกเบี้ยทบต้น (Compound Interest) คือการคำนวณดอกเบี้ยโดยคิดจากจำนวนเงินต้นที่สูงขึ้นเรื่อยๆ จากการนำดอกเบี้ยในแต่ละงวดเข้ารวมเป็นเงินต้นของงวดต่อๆไป ซึ่งจะทำให้ ดอกเบี้ยที่ได้รับในงวดต่อๆไปเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจาก การสะสมดอกเบี้ยงวดก่อนรวมอยู่ในเงินต้นนั่นเอง
ซึ่งสูตรในการคำนวน มีลักษณะเหมือนลักษณะหนึ่งของการคำนวณค่าของ e .......
หากมีโอกาสอาจนำมาคุยให้ฟังภายหลังครับ
วันนี้เราจะมาคุยกันต่อในเรื่องของตัวอย่างจำนวนอตรรกยะที่รู้จักกันดีอีกตัวหนึ่ง
เราเรียกว่า อัตราส่วนทองคำ (Golden Ratio) มีสัญลักษณ์เป็นตัวอักษณกรีกคือ φ หรือบางที่ใช้ ϕ ซึ่งเป็นตัวพิม์ใหญ่ เรียกว่า “Phi” อ่านว่า “ไฟร์”
อัตราส่วนทองคำ (Golden Ratio) เกิดขึ้นที่........
เรื่องของไฟร์ (Phi) ยังไม่จบเราจะมาคุยกันต่อในเรื่องของจำนวนจริง (ตอนที่ 14) ตัวอย่างของจำนวนอตรรกยะ(ต่อ) ในวันที่ 14 ธันวาคม 2563 เวลา 19.00 น. ครับ

ดูเพิ่มเติมในซีรีส์

โฆษณา